Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68854
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกิตตินันท์ จั่นตระกูลวัฒน์en_US
dc.contributor.authorยาวี เมฆขำen_US
dc.contributor.authorฤทธิไกร ณ ลำพูนen_US
dc.contributor.authorนิรัชชา ไชยสมบูรณ์en_US
dc.contributor.authorฐานิต ประสิทธิ์ศักดิ์en_US
dc.contributor.authorรุ่งอรุณ เกรียงไกรen_US
dc.date.accessioned2020-07-16T07:36:41Z-
dc.date.available2020-07-16T07:36:41Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.citationเชียงใหม่ทันตแพทยสาร 36,1 (ม.ค.-มิ.ย. 2558), 63-74en_US
dc.identifier.issn0857-6920en_US
dc.identifier.urihttp://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2558_36_1_381.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68854-
dc.descriptionเชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคมen_US
dc.description.abstractออสติโอซาร์โคมาเป็นมะเร็งกระดูกที่พบมากในกลุ่มเด็กและวัยรุ่น แต่การรักษาโดยเคมีบำบัดยังมีข้อจำกัดหลายประการ โดยเฉพาะการดื้อต่อยาที่ให้การรักษา ดังนั้น ทางเลือกใหม่โดยใช้เคอร์เซตินเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการรักษาผู้ป่วยจึงเป็นสิ่งที่น่าสนใจ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของเคอร์เซตินต่อความมีชีวิตและการตายแบบอะพอพโทสิสของเซลล์ออสทิโอซาร์โคมาของมนุษย์ชนิด U2-OS ผลศึกษาพบว่าเคอร์เซตินระดับความเข้มข้น 5 10 25 50 และ 100 ไมโครโมลาร์ ลดร้อยละความมีชีวิตของเซลล์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เป็นไปตามระดับความเข้มข้นของเคอร์เซตินที่เพิ่มขึ้น เคอร์เซตินสามารถเหนี่ยวนำให้เซลล์เกิดการตายแบบอะพอพโทสิสโดยพบการแตกหักของดีเอ็นเอได้เป็นชิ้นส่วนขนาดใหญ่ ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าเคอร์เซตินมีฤทธิ์ต้านการเจริญและเหนี่ยวนำให้เกิดการตายแบบอะพอพโทสิสของเซลล์ U2-OS ซึ่งเป็นข้อมูลพื้นฐานในการศึกษาต่อถึงกลไกการออกฤทธิ์ของเคอร์เซตินต่อเซลล์ U2-OS เพื่อนำประโยชน์มาประยุกต์ใช้ในการรักษาผู้ป่วยต่อไป Osteosarcoma is the most common bone cancer found in childhood and adolescents. However, major problems associated with chemotherapy still remain, particularly the frequent development of drug resistance. Hence, new therapeutic approaches that can further improve the efficiency by using quercetin are interesting. The purpose of this study was to investigate the effect of quercetin on cell viability and apoptotic cell death of human osteosarcoma cell line (U2-OS). The results showed that quercetin at 5 10 25 50 and 100 μM significantly decreased the percentage of viability of U2-OS cells in a dose-dependent manner. Quercetin could induce apoptosis in U2-OS cells resulting in a large DNA fragmentation. Our results suggested that quercetin can inhibit cell proliferation and induce apoptosis of U2-OS cells, and provided for further investigation of underlying mechanisms of quercetin on U2-OS cells applied for osteosarcoma therapy.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectเคอร์เซตินen_US
dc.subjectออสทิโอซาร์โคมาen_US
dc.subjectความมีชีวิตของ เซลล์en_US
dc.subjectการตายแบบอะพอพโทสิสen_US
dc.subjectquercetinen_US
dc.subjectosteosarcomaen_US
dc.subjectcell viabilityen_US
dc.subjectapoptosisen_US
dc.titleผลของเคอร์เซตินต่อความมีชีวิตและการตายแบบอะพอพโทสิสของเซลล์ออสทิโอซาร์โคมาของมนุษย์ชนิด U2-OS ในห้องปฏิบัติการen_US
dc.title.alternativeThe Effect of Quercetin on Cell Viability and Apoptotic Cell Death of Human Osteosarcoma Cell Line (U2-OS) in Vitroen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.