Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68851
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorธีรยุทธ กุณทรนีรานันท์en_US
dc.date.accessioned2020-07-16T07:36:41Z-
dc.date.available2020-07-16T07:36:41Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.citationเชียงใหม่ทันตแพทยสาร 36,1 (ม.ค.-มิ.ย. 2558), 75-82en_US
dc.identifier.issn0857-6920en_US
dc.identifier.urihttp://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2558_36_1_382.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68851-
dc.descriptionเชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคมen_US
dc.description.abstractกลุ่มอาการแสบร้อนช่องปาก เป็นอาการแสบร้อนบริเวณช่องปาก โดยที่มักจะไม่ตรวจพบความผิดปกติใดๆ ของเยื่อเมือกช่องปาก บทความนี้รายงานผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 54 ปีมาพบทันตแพทย์ด้วยอาการแสบร้อนบริเวณลิ้น และเพดาน จากการตรวจในช่องปากพบเยื่อเมือกช่องปากมีลักษณะปกติ ผู้ป่วยไม่มีโรคทางระบบใดๆ และจากผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการไม่พบความผิดปกติใดๆ ผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วย อะมิทริปไทลีน 25 มิลลิกรัมต่อวัน จากการติดตามผลผู้ป่วยตอบสนองต่อการรักษาดีมาก อาการแสบร้อนลดลง และหายเป็นปกติหลังจากได้รับการรักษา 2 เดือน Burning mouth syndrome is characterized by burning sensations of the oral cavity usually in the absence of mucosal abnormality. This article presents a case of a 54-year-old female patient with a burning sensation in the tongue and palate. Clinical and laboratory evaluations revealed the absence of any clinical and laboratory abnormalities. The patient denied systemic diseases. She was treated with amitriptyline (25mg/day), obtaining a complete remission of symptoms after 2 months of treatment.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectกลุ่มอาการแสบร้อนช่องปากen_US
dc.subjectอะมิทริปไทลีนen_US
dc.subjectBurning mouth syndromeen_US
dc.subjectamitriptylineen_US
dc.titleกลุ่มอาการแสบร้อนช่องปาก: รายงานผู้ป่วย 1 ราย และทบทวนวรรณกรรมen_US
dc.title.alternativeBurning Mouth Syndrome: A Case Report and Literature Reviewen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.