Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68810
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorศิริรัตน์ ปานอุทัยen_US
dc.date.accessioned2020-06-10T07:12:31Z-
dc.date.available2020-06-10T07:12:31Z-
dc.date.issued2563en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 47, 1 (ม.ค.-มี.ค. 2563), 454-466en_US
dc.identifier.issn0125-0078en_US
dc.identifier.urihttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/240770/164097en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68810-
dc.descriptionวารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับen_US
dc.description.abstractการเสียชีวิตของคนส่วนใหญ่เกิดในวัยสูงอายุและผู้ป่วยโรคเรื้อรังหลายโรคร่วม แต่พบว่าผู้สูงอายุเป็นกลุ่มที่เข้าไม่ถึงบริการการดูแลแบบประคับประคองมากที่สุดเนื่องจากกลุ่มเป้าหมายหลักของการดูแลแบบประคับประคองยังคงเป็นผู้ป่วยโรคมะเร็งซึ่งผู้ป่วยโรคมะเร็งเพียงส่วนหนึ่งเท่านั้นที่เป็นผู้สูงอายุ โดยสาเหตุหลักของการเสียชีวิตในผู้สูงอายุมิใช่แค่โรคมะเร็งเท่านั้นแต่ยังมีสาเหตุจากโรคเรื้อรังอื่น ๆ เช่น โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ภาวะหัวใจล้มเหลว โดยส่วนใหญ่ผู้สูงอายุมีความเจ็บป่วยเรื้อรังมากกว่า 1 โรค นอกจากนั้นผู้สูงอายุส่วนหนึ่งยังต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงอันเนื่องมาจากความเสื่อมของร่างกายที่อาจเป็นอุปสรรคที่ทำให้ไม่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง เช่น ภาวะสมองเสื่อม โดยเป็นภาวะที่ทำให้ผู้ให้บริการมีความยากในการประเมินเพื่อจัดบริการการดูแลแบบประคับประคอง ดังนั้นจึงความจำเป็นที่จะต้องมีการพัฒนารูปแบบการดูแลแบบประคับประคองสำหรับผู้สูงอายุ เพื่อให้ผู้สูงอายุเข้าถึงระบบการดูแลแบบประคับประคองและเพื่อมั่นใจว่าการดูแลผู้สูงอายุที่มีโรคเรื้อรังร่วมหลายโรคมีความต่อเนื่องตลอดช่วงระยะเวลาของการเจ็บป่วยจนถึงวาระสุดท้ายของชีวิตบรรลุจนนำมาสู่การบรรลุเป้าหมายคือการจากไปอย่างมีคุณภาพชีวิตที่ดี Most deaths occur among people who are old and experiencing multiple chronic illnesses. Older people are the vulnerable group who have been left out from the palliative care system since this system was originally designed to meet the needs of cancer patients. Not only cancer, but other chronic diseases such as chronic obstructive pulmonary disease, end stage chronic kidney disease and heart failure were also major causes of death among older people. Moreover, older people are experiencing multiple diseases and geriatric syndromes such as dementia caused by degenerative changes and being barriers for health care providers to assess palliative care needs and decide for services. To achieve the ultimate goal of quality of life at the end of life, palliative care system should be urgently developed to ensure that older people suffering from multiple chronic diseases will receive continuity of care throughout the course of illness.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการดูแลแบบประคับประคองen_US
dc.subjectผู้สูงอายุen_US
dc.titleการพยาบาลแบบประคับประคองในผู้สูงอายุen_US
dc.title.alternativePalliative Care Nursing for Older Personsen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.