Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68795
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สำรี ชมบริสุทธิ์ | en_US |
dc.contributor.author | เพชรสุนีย์ ทั้งเจริญกุล | en_US |
dc.contributor.author | อภิรดี นันท์ศุภวัฒน์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-06-10T07:12:30Z | - |
dc.date.available | 2020-06-10T07:12:30Z | - |
dc.date.issued | 2563 | en_US |
dc.identifier.citation | พยาบาลสาร 47, 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2563), 453-462 | en_US |
dc.identifier.issn | 0125-0078 | en_US |
dc.identifier.uri | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/241835/164617 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68795 | - |
dc.description | วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ | en_US |
dc.description.abstract | การจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นปัจจัยสำคัญในการลดความผิดพลาดในการรักษาพยาบาลผู้ป่วยในโรงพยาบาล การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วย ปัญหาและหาแนวทางการแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวกับการจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วย หอผู้ป่วยศัลยกรรมชายโรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก ประชากรที่ศึกษาเป็นผู้บริหารจำนวน 5 คน และผู้ปฏิบัติการพยาบาลในหอผู้ป่วย จำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แนวคำถามในการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง ซึ่งผ่านการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่านที่มีความเชี่ยวชาญด้านการบริหารโรงพยาบาล ทำการรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า หอผู้ป่วยศัลยกรรมชาย มีการดำเนินงานตามกรอบแนวคิดระบบบริหารความเสี่ยงและความปลอดภัยของ The Health care Accreditation Institute (2015) และมีปัญหาในการจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วย ได้แก่ บุคลากรพยาบาลบางคนไม่สามารถระบุได้ว่าเหตุการณ์ใดเป็นความเสี่ยงที่ต้องรายงานจึงทำให้มีการรายงานอุบัติการณ์น้อย บุคลากรพยาบาลบางคนรู้สึกว่าไม่เกิดผลดีจากการค้นหาและจัดลำดับความเสี่ยง บุคลากรพยาบาลบางคนไม่ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติทางคลินิก บุคลากรพยาบาลบางคนไม่รายงานเหตุการณ์เกือบพลาด บุคลากรพยาบาลทุกคนไม่สามารถเข้าร่วมในการทำการวิเคราะห์สาเหตุที่แท้จริง และทีมจัดการความเสี่ยงมีงานที่ต้องทำจำนวนมาก จึงทำให้มีการให้ข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหาล่าช้า จากผลการศึกษานี้ ผู้บริหารทางการพยาบาลควรมีการพัฒนากลยุทธ์ที่ส่งเสริมให้บุคลากรพยาบาลมีการค้นหาความเสี่ยงและรายงานอุบัติการณ์ได้ง่ายมากขึ้น หอผู้ป่วยมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีความเข้าใจสาเหตุที่แท้จริงของความเสี่ยงที่เกิดขึ้นและจัดลำดับความสำคัญในการแก้ไขปัญหาตามข้อบกพร่องที่พบในระบบความปลอดภัยของผู้ป่วย Patient safety management is a crucial factor for diminishing errors on remedy and nursing care for patients in hospitals. The objective of the study was to analyze situations of patient safety management and the ways to improve patient safety management in Male Surgical Ward, Buddhachinaraj Phitsanulok Hospital. Participants included five nursing administrators and ten nursing personal. The study instruments were comprised of constructed interview guides that were tested for a clear and well-defined research interest by three experts in hospital administration. Data were collected by interviews and focus groups. Data were analyzed by using content analysis. The findings revealed that this ward carried out patient safety management base on the model of risk and safety management system suggested by Healthcare Accreditation Institute (2015). However, many problems in the patient safety management were found as below: some nursing personnel indicated the suspicion that errors, even serious ones, were underreported; nursing personnel felt no positive changes from risk identification and prioritization; some nursing personnel did not comply with the clinical guidelines; near miss incidents were underreported; not all of the nursing personnel could participate in the RCA meeting; and the risk management team was so busy resulting in delayed feedback on what was being done to correct the problems. According to the study findings, nursing administrators should develop strategies to stimulate incident identification and make incident reporting easier. It is important for hospital wards to get insight into their own pattern of root causes and prioritize improvement activities based on weak spots in their patient safety system. Moreover, direct and immediate feedback to nursing personnel is extremely important to keep them aware of patient safety. | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | การจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วย | en_US |
dc.subject | การวิเคราะห์สถานการณ์ | en_US |
dc.subject | หอผู้ป่วยศัลยกรรมชาย | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์สถานการณ์การจัดการความปลอดภัยของผู้ป่วย หอผู้ป่วยศัลยกรรมชาย โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก | en_US |
dc.title.alternative | Situational Analysis of Patient Safety Management, Male Surgical Ward, Buddhachinaraj Phitsanulok Hospital | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.