Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68782
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเบญจวรรณ กันยานะen_US
dc.contributor.authorกุลวดี อภิชาตบุตรen_US
dc.contributor.authorบุญพิชชา จิตต์ภักดีen_US
dc.date.accessioned2020-06-10T07:12:30Z-
dc.date.available2020-06-10T07:12:30Z-
dc.date.issued2563en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 47, 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2563), 320-332en_US
dc.identifier.issn0125-0078en_US
dc.identifier.urihttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/241846/164623en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68782-
dc.descriptionวารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับen_US
dc.description.abstractการใช้ภาษาจูงใจของหัวหน้าหอผู้ป่วยเป็นเป็นวิธีการหนึ่งที่ส่งเสริมให้พยาบาลวิชาชีพมีการปฏิบัติงานที่ดี การวิจัยครั้งเป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบหาความสัมพันธ์ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ภาษาจูงใจของหัวหน้าหอผู้ป่วยและการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพ ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ จำนวน 366 คน คัดเลือกโดยวิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิ รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามการใช้ภาษาจูงใจของหัวหน้าหอผู้ป่วยของ Praparsanobol (2007) และแบบวัดการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพที่ผู้วิจัยแปลมาจากแบบวัดการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพของ Greenslade & Jimmieson (2011) มีค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบาคของแบบสอบถามการใช้ภาษาจูงใจของหัวหน้าหอผู้ป่วยและแบบวัดการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพ เท่ากับ .94 และ .95 ตามลำดับ และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน ผลการศึกษาพบว่า การใช้ภาษาจูงใจของหัวหน้าหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐอยู่ในระดับมาก (= 3.79, S.D. = .65) การปฏิบัติงานตามลักษณะงานและการปฏิบัติงานตามสถานการณ์ของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐอยู่ในระดับสูง (= 58.27, S.D. = 7.37 และ = 72.00, S.D. = 10.54 ตามลำดับ) การใช้ภาษาจูงใจของหัวหน้าหอผู้ป่วยมีความสัมพันธ์ทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับการปฏิบัติงานตามลักษณะงานและการปฏิบัติงานตามสถานการณ์ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาล มหาวิทยาลัยของรัฐ (r = .347, p < .01 และ r = .343, p < .01 ตามลำดับ) ผลการศึกษาครั้งนี้ผู้บริหารทางการพยาบาลสามารถนำไปใช้ในการส่งเสริมการใช้ภาษาจูงใจในหัวหน้าหอผู้ป่วยเพื่อการปฏิบัติงานของที่ดีขึ้นของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ The motivating language of head nurses is one method to motivate nurse are best job performance. This correlational descriptive study aimed to determine the relationship between motivating language of the head nurses and the job performance of the nurses among nurses at government university hospitals. The sample included 366 registered nurses who were selected using the stratified random sampling method. Instruments were the Head Nurses’ Motivating Language Questionnaires by Prapasanobol (2007) and the Nursing Performance Scale by Greenslade and Jimmieson (2011) that was translated by the researcher. The Cronbach’ alpha coefficients of the Head Nurses’ Motivating Language Questionnaires and the Nursing Performance Scale were .94 and .95 respectively. Data were analyzed by using descriptive statistics and Spearman’s Rank Order Correlation. The results of the study revealed the followings: The motivating language of head nurses as perceived by registered nurses at government university hospitals was at high levels. (= 3.79, S.D. = .65) Task performance and contextual performance of registered nurses at government university hospitals were at high levels. (= 58.27, S.D. = 7.37 and = 72.00, S.D. = 10.54 respectively) There was a statistically significant positive correlation between the motivating language of head nurses and the task performance and the contextual performance of registered nurses government university hospitals. (r = .347, p < .01 and r = .343, p < .01 respectively) Results of the study can be used by nursing administrators to promote the use of the motivating language of head nurses in order to enhance the job performance of registered nurses at government university hospitals.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการใช้ภาษาจูงใจen_US
dc.subjectการปฏิบัติงานen_US
dc.subjectการปฏิบัติงานตามลักษณะงานen_US
dc.subjectการปฏิบัติงานตามสถานการณ์en_US
dc.subjectพยาบาลวิชาชีพen_US
dc.titleการใช้ภาษาจูงใจของหัวหน้าหอผู้ป่วยและการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐen_US
dc.title.alternativeHead Nurses’ Motivating Language and Registered Nurses’ Job Performance, Government University Hospitalsen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.