Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68716
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorทิพย์ภาภรณ์ อุปโยen_US
dc.contributor.authorกรกฎงาน วงศ์พาณิชย์en_US
dc.date.accessioned2020-06-10T07:12:27Z-
dc.date.available2020-06-10T07:12:27Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.citationเชียงใหม่สัตวแพทยสาร 13,1 (ม.ค.-เม.ย. 2558) 23-31en_US
dc.identifier.issn0857-6920en_US
dc.identifier.urihttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/vis/article/view/146423/107955en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68716-
dc.descriptionเชียงใหม่สัตวแพทยสาร เป็นวารสารเผยแพร่เผยแพร่ผลงานทางวิชาการที่มีคุณภาพในลักษณะต่าง ๆ เช่น บทความต้นฉบับ (Original article) บทความปริทัศน์ (Review article) รายงานฉบับย่อ (Short communication) และรายงานสัตว์ป่วย (Case report) ที่เกี่ยวข้องกับทางด้านสัตวแพทยศาสตร์ (Veterinary Science) และวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีการสัตว์ (Animal Science and Technology) ได้แก่ ชีววิทยา สรีรวิทยา จุลชีววิทยา พยาธิวิทยา โภชนาการศาสตร์ กายวิภาคศาสตร์ พันธุศาสตร์ อายุรศาสตร์ ศัลยศาสตร์ สูติศาสตร์ วิทยาศาสตร์ทางชีวภาพวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ระบาดวิทยาและแนวทางสุขภาพหนึ่งเดียวen_US
dc.description.abstractกระดูกอ่อน (Cartilage) เป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดหนึ่งของร่างกายที่สามารถต้านทานแรงกดแรงยืดและแรงเฉือนสามารถกระจายแรงให้แก่อวัยวะในร่างกายกระดูกอ่อนผิวข้อเป็นกระดูกอ่อนชนิดไฮยะลินมีหน้าที่ในการรับและกระจายแรงที่กระทําต่อข้อต่อที่สามารถเคลื่อนไหวได้อย่างอิสระกระดูกอ่อนผิวข้อประกอบด้วยเซลล์กระดูกอ่อนและเนื้อกระดูกอ่อนมีโครงสร้างที่สําคัญ ได้แก่ โปรตีโอไกลแคนคอลลาเจนไฮยาลูโรแนนและแอกกริแคนฯลฯเซลล์ กระดูกอ่อนสามารถผลิตเอนไซม์ในการทําลายเนื้อกระดูก เช่น เอนไซม์เมทริกเมทัลโลโปรทีเนสแอกกริแคนเนสและคอลลาจีเนส ในภาวะที่มีการเสื่อมของกระดูกอ่อนจะเกิดกระบวนการสลายมากกว่ากระบวนการสร้างเกิดการผลิตสารสื่ออักเสบและเอนไซม์ในการย่อยเนื้อกระดูกต่างๆมากกว่าปกติ เช่น อินเตอร์ลิวคินชนิดที่ 1เบต้าและทูเมอร์ เนคโครซิสแฟกเตอร์ แอลฟาสามารถกระตุ้นให้เซลล์กระดูกอ่อนผลิตเอนไซมืในการทําลายเนื้อกระดูกอ่อน เช่น เอนไซม์เมทริกเมทรัลโลโปรตีเนสเอนไซม์คอลลาจีเนสและเอนไซม์แอกกริแคนเนสทําให้เกิดการเสื่อมของกระดูกอ่อนผิวข้อ ได้แก่ การถลอกการเกิดร่องหลุมการสึกกร่อนและเกิดการเสื่อมของกระดูกอ่อนผิวข้อในที่สุดบทความนี้จึงมีขึ้นเพื่อทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางชีวเคมีพยาธิวิทยาและโรคที่สัมพันธ์กับเกิดการเสื่อมของกระดูกอ่อนผิวข้อเพื่อนําไปสู่การพัฒนาในการรักษาการเสื่อมของกระดูกอ่อนผิวข้อต่อไป Articular cartilage is hyalin cartilage covering the two ends of bones in diathrodial joints. It can resist compression and redistribute load of the joints. The tissue composed of chondrocytes embedded within extracellular matrix which majorly composed of collagen, proteoglycan, hyaluronan and aggrecan. Excessive catabolism within the cartilage tissue causes cartilage degradation. Proinfl ammatory cytokines such as interleukin-1β and tumor necrosis factor alpha (TNF-α) trigger the chondrocytes to produce matrix degraded enzymes such as matrix metalloproteinases, collagenases, and aggrecanases leading to cartilage erosion, fi ssure, denulation and degradation. The purpose of this article is to review biochemical changes, pathology, and diseases association with cartilage degradation for further studies of osteoarthritis treatment.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะสัตวแพทศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectกระดูกอ่อนen_US
dc.subjectการเสื่อมen_US
dc.subjectข้อเสื่อมen_US
dc.subjectสารชีวโมเลกุลen_US
dc.titleการเสื่อมของกระดูกอ่อนen_US
dc.title.alternativeCartilage degradationen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.