Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68623
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจีรติการณ์ พิทาคําen_US
dc.contributor.authorธนิสา กฤษฎาธารen_US
dc.contributor.authorจุฑาพิชญ์ พวกเมืองพลen_US
dc.contributor.authorกาญจนา เงินคําคงen_US
dc.contributor.authorเพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์en_US
dc.date.accessioned2020-05-20T04:41:49Z-
dc.date.available2020-05-20T04:41:49Z-
dc.date.issued2563en_US
dc.identifier.citationเชียงใหม่เวชสาร 59,1 (มกราคม-มีนาคม 2563), น.17-27en_US
dc.identifier.issn0125-5983en_US
dc.identifier.urihttps://he01.tci-thaijo.org/index.php/CMMJ-MedCMJ/article/view/240527/163711en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68623-
dc.descriptionเชียงใหม่เวชสาร เป็นวารสารของคณะแพทยศาสตร์ มช. ตีพิมพ์เพผยแพร่บทความวิชาการ สาขาวิทยาศาสตร์ภาพ เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้แก่ในวงกว้าง เป็นวารสารที่มี peer review ตีพิมพ์ปีละ 4 ฉบับ ในเดือน มีนาคม มิถุนายน กันยายน และธันวาคมen_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษารูปแบบการใช้ยากระตุ้นการหลั่งน้ํานมในมารดาให้นมบุตร วิธีการ การศึกษาเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง โดยเก็บข้อมูลย้อนหลัง จากเวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์ของโรงพยาบาล ตั้งแต่เดือนมกราคม ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2560 ผลการศึกษา ในมารดาจํานวน 1,494 ราย ที่คลอดบุตร พบมารดา 136 รายได้รับยากระตุ้นการหลั่งน้ํานม อัตราการใช้ยากระตุ้นการหลั่งน้ํานมในมารดาหลังคลอดเท่ากับร้อยละ 9.10 ยากระตุ้นการหลั่งน้ํานมที่ใช้ทั้งหมดเป็นยาดอมเพอริ-โดน ส่วนใหญ่พบว่าแพทย์สั่งจ่ายยาให้ใช้ทั้งระหว่างอยู่โรงพยาบาลและให้ยากลับบ้าน (ร้อยละ 52.21) มารดาที่ได้ยากระตุ้นการหลั่งน้ํานมส่วนใหญ่ได้รับการประเมินระดับการไหลของน้ํานมก่อนใช้ยา (ร้อยละ 98.55) และส่วนใหญ่มีระดับการไหลของน้ํานมระดับ 0 (ร้อยละ 34.78) และได้รับการกระตุ้นการหลั่งน้ํานมด้วยวิธีอื่น ๆ อย่างน้อย 1 วิธี (ร้อยละ 100) คําสั่งใช้ยาส่วนใหญ่เป็นคําสั่งใช้ยาขนาด 30 มิลลิกรัมต่อวัน (ร้อยละ 64.71) มารดาทุกรายได้รับยาภายใน 10 วันหลังคลอดและจําานวนวันเฉลี่ยที่ได้รับยากระตุ้นการหลั่งน้ํานมคิดเป็น 6.19 วัน สรุป อัตราการใช้ยากระตุ้นการหลั่งน้ํานมในมารดาหลังคลอดเท่ากับร้อยละ 9.10 ยากระตุ้นการหลั่งน้ํานมที่ใช้ทั้งหมดเป็นยาดอมเพอริโดน มารดาเกือบทุกรายที่ได้รับการสั่งใช้ยากระตุ้นการหลั่งน้ํานมได้รับการประเมินระดับการไหลของน้ํานม และทุกรายได้รับการกระตุ้นการหลั่งน้ํานมโดยวิธีอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ยา อย่างน้อย 1 วิธี มารดาทุกรายที่ได้ยากระตุ้นการหลั่งน้ํานมเริ่มใช้ยาภายใน 10 วันหลังคลอด ระยะเวลาเฉลี่ยของการได้รับยาอยู่ที่ 6.19 วัน Objectives To identify patterns of drug prescribing to promote lactation in breastfeeding mothers. Methods A cross-sectional descriptive study was conducted using retrospective data collection from electronic medical records from January – December 2017. Results Of 1,494 mothers who gave birth, 136 received a galactagogue. The prescription rate was 9.10% with all doctors prescribing domperidone. Most of prescriptions indicated use in the hospital and following discharge (52.21%) and almost all mothers (98.55%) were evaluated before being given a prescription and most mothers had breast milk levels of 0 (34.78%) and received at least one intervention to help promote lactation (100%). The majority were prescribed 30 mg of domperidone per day (64.71%). All received domperidone within 10 days after giving birth and the mean day they received domperidone was on day 6. Conclusion The rate of prescribing to promote lactation in breast feeding mothers was 9.10, with all doctors prescribing domperidone. Almost all mothers receiving a galactagogue were evaluated first and received at least one intervention to help promote lactation before being prescribed medication. Domperidone prescriptions were given within 10 days after birth and the mean day that mothers received domperidone was 6.19.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectมารดาให้นมบุตรen_US
dc.subjectยากระตุ้นการหลั่งน้ำนมen_US
dc.subjectดอมเพอริโดนen_US
dc.titleรูปแบบการใช้ยากระตุ้นการหลั่งน้ํานมในมารดาให้นมบุตรen_US
dc.title.alternativePatterns of drug prescribing to promote lactation in breast feeding mothersen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.