Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68620
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorณัฐพร สิริเสรีภาพen_US
dc.contributor.authorกุลภพ สุทธิอาจen_US
dc.contributor.authorชาย รังสิยากูลen_US
dc.contributor.authorพิมพ์เดือน รังสิยากูลen_US
dc.date.accessioned2020-05-20T04:41:49Z-
dc.date.available2020-05-20T04:41:49Z-
dc.date.issued2563en_US
dc.identifier.citationเชียงใหม่ทันตแพทยสาร 41,1 (ม.ค.-มี.ค. 2563) น.45-55en_US
dc.identifier.issn0857-6920en_US
dc.identifier.urihttp://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2563_41_1_537.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68620-
dc.descriptionเชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคมen_US
dc.description.abstractช่องความสูงตัวฟันถือเป็นคานแนวดิ่ง ภาวะแทรกซ้อนของรากเทียมสามารถเกิดขึ้นได้เมื่อมีแรงแนวระนาบหรือแนวเฉียงมากระทำต่อรากเทียม โดยแรงดังกล่าวส่งผลให้เกิดความเค้นและความเครียดบริเวณกระดูกรอบรากเทียมและทำให้เกิดความล้มเหลวเชิงชีวภาพและเชิงกล เช่น สกรูหลวมหรือหัก เกิดการละลายของกระดูกส่วนยอด และนำไปสู่ความล้มเหลวของรากเทียมในที่สุด อย่างไรก็ตามบทความที่เกี่ยวข้องกับช่องความสูงตัวฟันในรากเทียมรองรับฟันเทียมชนิดต่างๆ ยังมีน้อย ดังนั้นจุดประสงค์ในครั้งนี้คือการทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับช่องความสูงตัวฟันที่ทำให้เกิดความเค้นและความเครียดบริเวณกระดูกรอบรากเทียม ทั้งในรากเทียมรองรับครอบฟันติดแน่นและฟันเทียมคร่อมรากเทียม อีกทั้งการวางแผนการรักษาในผู้ป่วยที่มีช่องความสูงตัวฟันมากเกิน Crown height space is known as vertical cantilever. Complications of dental implants can be occurred when horizontal or oblique forces were applied to dental implants. Such forces can cause stress and strain at peri-implant bone area, and lead to biological and mechanical problems, such as screw loosening, screw fracture, crestal bone resorption, and eventually implant failure. However, there are few studies regarding to crown height space on dental implant prostheses. The aim of this study was to review about crown height space that cause stress and strain to peri-implant bone on implant-supported fixed dental prosthesis and implant-retained overdenture in order to provide a biomechanical sound treatment plan in patients with excessive crown height space.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectช่องความสูงตัวฟันen_US
dc.subjectรากเทียมen_US
dc.subjectฟันเทียมคร่อมรากเทียมen_US
dc.subjectรากเทียมรองรับครอบฟันติดแน่นen_US
dc.subjectกระดูกรอบรากเทียมen_US
dc.subjectความเครียดen_US
dc.subjectความเค้นen_US
dc.titleผลของช่องความสูงตัวฟันในรากเทียมรองรับครอบฟันติดแน่นและฟันเทียมคร่อมรากเทียมen_US
dc.title.alternativeEffect of Crown Height Space on Implant-supported Fixed Dental Prosthesis and Implant-retained Overdentureen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.