Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67497
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorลดาวัลย์ ฤทธิ์กล้าen_US
dc.contributor.authorดิลก ภิยโยทัยen_US
dc.date.accessioned2020-04-02T14:46:51Z-
dc.date.available2020-04-02T14:46:51Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 46,4 (ต.ค.-ธ.ค. 2562) 149-157en_US
dc.identifier.issn0125-5118en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/230352/156780en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67497-
dc.descriptionวารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาลen_US
dc.description.abstractการฉีดสีหลอดเลือดหัวใจเป็นการวินิจฉัยโรคหลอดเลือดหัวใจที่สำคัญ การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้แนวปฏิบัติทางการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยโรคหลอด เลือดหัวใจที่ได้รับการฉีดสีหลอดเลือดหัวใจต่อภาวะแทรกซ้อนและระดับความวิตกกังวลของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจโดยศึกษาในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจที่ได้รับการฉีดสีหลอดเลือดหัวใจ ที่มารับบริการที่งานการพยาบาล ธท.2 โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ ระหว่างเดือนมีนาคม – สิงหาคม 2559 จำนวน 52 ราย โดยทำการสุ่มกลุ่มตัวอย่างเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 26รายกลุ่มทดลองได้รับการดูแลตามแนวปฏิบัติทางการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการการฉีดสีหลอดเลือดหัวใจที่พัฒนาขึ้นจากแนวคิดแนวปฏิบัติทางคลินิกไปใช้ของสมาคมพยาบาลออนทาริโอ ประเทศแคนาดา (RNAO, 2009) เป็นแนวทางในการนำแนวปฏิบัติส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบประเมินความวิตกกังวลของซุง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ไคสแคว์และ Independence t-test. ผลการศึกษาพบว่าภายหลังเข้าร่วมโครงการกลุ่มทดลองมีอุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการฉีดสีหลอดเลือดหัวใจต่ำกว่ากลุ่มควบคุม (กลุ่มทดลองร้อยละ 11.5 เทียบกับ กลุ่มควบคุม ร้อยละ38.5, p < 0.05) และมีคะแนนระดับความวิตกกังวลของผู้ป่วยต่ำกว่ากลุ่มควบคุม (M = 31.5 ± 5.37vsM = 47.0 ± 9.11, p< 0.001)ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าการใช้การดูแลตามแนวปฏิบัติทางการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการฉีดสีหลอดเลือดหัวใจ ช่วยส่งเสริมให้พยาบาลสามารถให้การดูแลผู้ป่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยและป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการฉีดสีหลอดเลือดหัวใจที่อาจเกิดขึ้นได้ทั้งนี้ควรศึกษาซ้ำในกลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ขึ้นเพื่อพิสูจน์ประสิทธิภาพของแนวปฏิบัติทางการพยาบาลดังกล่าวen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectแนวปฏิบัติการพยาบาลen_US
dc.subjectผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจen_US
dc.subjectการฉีดสีหลอดเลือดหัวใจen_US
dc.subjectภาวะแทรกซ้อนen_US
dc.subjectระดับความวิตกกังวลen_US
dc.titleผลของการใช้แนวปฏิบัติทางการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจที่ได้รับการฉีดสีหลอดเลือดหัวใจต่อภาวะแทรกซ้อนและระดับความวิตกกังวลของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจใน หอผู้ป่วยอายุรกรรมธท.2 โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติen_US
dc.title.alternativeEffects of Clinical Nursing Practice Guideline for Nursing Care of Patients with Coronary Artery Disease: Undergone Coronary Angiography on Complications and Anxiety Levels in Medical Unit, Thammasat University Hospitalen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.