Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67466
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปิยะดนัย สุธีรพงศ์พันธ์en_US
dc.contributor.authorสุภัสสรา ศิรบรรจงกรานen_US
dc.contributor.authorธนพรรณ วัฒนชัยen_US
dc.contributor.authorปฏิยุทธ ศรีวิลาศen_US
dc.contributor.authorธีระวัฒน์ โชติกเสถียรen_US
dc.date.accessioned2020-04-02T14:46:50Z-
dc.date.available2020-04-02T14:46:50Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationเชียงใหม่ทันตแพทยสาร 39,2 (พ.ค.-ก.ย. 2561) 69-76en_US
dc.identifier.issn0857-6920en_US
dc.identifier.urihttp://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2561_39_2_486.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67466-
dc.descriptionเชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคมen_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: เพื่อประเมินพื้นที่ผิวรากฟันแท้ในขากรรไกรบนของผู้ป่วยไทยกลุ่มหนึ่งที่มีฟันหน้าสบเปิดร่วมกับโครงสร้างขากรรไกรแนวดิ่งแบบเปิดโดยใช้โคนบีม คอมพิวเตดโทโมกราฟฟี วัสดุอุปกรณ์และวิธีการ: ภาพรังสีโคนบีมคอมพิวเตดโทโมกราฟฟีของฟันแท้ในขากรรไกรบนซึ่งถูกจัดกลุ่มตามชนิดของฟัน จากผู้ป่วยไทย (อายุ 15-30 ปี) จำนวน 18 รายถูกคัดเลือก แบบจำลองฟันสามมิติถูกสร้างขึ้นโดยใช้โปรแกรมมิมิค รีเสิร์ช เวอร์ชั่น 17.0 รอยต่อระหว่างเคลือบฟันและเคลือบรากฟันถูกกำหนดขึ้น พื้นที่ผิวรากฟันถูกคำนวณแบบอัตโนมัติโดยใช้โปรแกรม 3-เมติกรีเสิร์จ เวอร์ชั่น 9.0 ค่าเฉลี่ยของพื้นที่ผิวรากฟันระหว่างชนิดของฟันถูกเปรียบเทียบโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวร่วมกับการเปรียบเทียบเชิงพหุคูณ (p<0.05) ผลการศึกษา: ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของพื้นที่ผิวรากฟันแท้ในขากรรไกรบนถูกจัดเรียงจากมาก ไปน้อยดังนี้ ฟันกรามบนซี่ที่หนึ่ง (452.40±65.75 มม) ฟันกรามบนซี่ที่สอง (379.85±79.71 มม) ฟันกรามน้อย บนซี่ที่สอง (245.52±44.03 มม) ฟันเขี้ยวบน (244.80±54.11 มม2) ฟันกรามน้อยบนซี่ที่หนึ่ง (232.22±39.95มม2) ฟันตัดบนซี่กลาง (182.70±27.80 มม2 ) และฟันตัดบนซี่ข้าง (163.29±24.42 มม2 ) ตามลำดับโดยพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างชนิดของฟัน บทสรุป:การวัดพื้นที่ผิวรากฟันแท้ในขากรรไกรบนโดยใช้โคนบีมคอมพิวเตดโทโมกราฟฟี พบว่าฟันกรามบนซี่ที่หนึ่งมีพื้นที่ผิวรากฟันมากที่สุด และฟันตัดบนซี่ข้างมีพื้นที่ผิวรากฟันน้อยที่สุดen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectพื้นที่ผิวรากฟันen_US
dc.subjectสบฟันเปิดen_US
dc.subjectโคนบีมคอมพิวเตดen_US
dc.subjectโทโมกราฟฟen_US
dc.titleพื้นที่ผิวรากฟันแท้ในขากรรไกรบนของผู้ป่วยไทยกลุ่มหนึ่ง ที่มีฟันหน้าสบเปิด โดยใช้โคนบีมคอมพิวเตดโทโมกราฟฟีen_US
dc.title.alternativeRoot Surface Areas of Maxillary Permanent Teeth in a Group of Thai Patients Exhibiting Anterior Open Bite Using Cone-Beam Computed Tomographyen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.