Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67415
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorฐิติวดี ธรรมเจริญen_US
dc.contributor.authorวันชัย เลิศวัฒนวิลาศen_US
dc.contributor.authorธานี แก้วธรรมานุกูลen_US
dc.date.accessioned2020-04-02T14:46:49Z-
dc.date.available2020-04-02T14:46:49Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 46,3 (ก.ค.-ก.ย. 2562) 14-24en_US
dc.identifier.issn0125-5118en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/218497/151334en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67415-
dc.descriptionวารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาลen_US
dc.description.abstractโรคทางเดินหายใจตะวันออกกลางเป็นโรคอุบัติใหม่ที่มีความรุนแรงของโรคสูง และมีรายงานการติดเชื้อในโรงพยาบาลเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะกับบุคลากรผู้ให้การดูแลผู้ป่วย การป้องกันการติดเชื้อในบุคลากรทางการแพทย์อย่างมีประสิทธิภาพจึงมีความสำคัญ การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติบรรทัดฐานกลุ่มอ้างอิง การรับรู้การควบคุมพฤติกรรม และความตั้งใจในการป้องกัน การติดเชื้อโรคทางเดินหายใจตะวันออกกลางของพยาบาลวิชาชีพ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพในจังหวัดปัตตานี ยะลา และนราธิวาส จำนวน 416 คน ใช้วิธีสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นตามทฤษฎีพฤติกรรมตามแบบแผน ที่ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและความเชื่อมั่นของเครื่องมือ ดำเนินการรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมีนาคม ถึง เดือนเมษายน พ.ศ.2558 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาผลการศึกษาพบว่า1.กลุ่มตัวอย่างมีทัศนคติต่อพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อโรคทางเดินหายใจตะวันออกกลางอยู่ในระดับมากที่สุด2.กลุ่มตัวอย่างมีบรรทัดฐานกลุ่มอ้างอิงในการป้องกันการติดเชื้อโรคทางเดินหายใจตะวันออกกลางอยู่ในระดับมากที่สุด3.กลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้การควบคุมพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อโรคทางเดินหายใจตะวันออกกลางอยู่ในระดับมาก4.กลุ่มตัวอย่างมีความตั้งใจในการป้องกันการติดเชื้อโรคทางเดินหายใจตะวันออกกลางอยู่ในระดับมากที่สุด ในเรื่อง การล้างมือ การใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล การแยกผู้ป่วย การจัดการมูลฝอย การจัดการเครื่องผ้า และการให้คำแนะนำผู้ป่วย ผลการวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะให้ทีมสุขภาพและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำข้อมูลที่ได้จากการวิจัยนี้ไปใช้ในการวางแผนพัฒนาการปฏิบัติการป้องกันการติดเชื้อโรคทางเดินหายใจตะวันออกกลางของพยาบาลวิชาชีพโดยเน้นส่งเสริมให้พยาบาลวิชาชีพมีแรงจูงใจคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง และการรับรู้การควบคุมพฤติกรรมในการป้องกันการติดเชื้อเพื่อให้พยาบาลวิชาชีพมีความตั้งใจในการป้องกันการติดเชื้อโรคทางเดินหายใจตะวันออกกลางต่อไปen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectทัศนคติen_US
dc.subjectบรรทัดฐานกลุ่มอ้างอิงen_US
dc.subjectการรับรู้การควบคุมพฤติกรรมen_US
dc.subjectความตั้งใจในการป้องกันการติดเชื้อโรคทางเดินหายใจตะวันออกกลางen_US
dc.subjectพยาบาลวิชาชีพen_US
dc.titleทัศนคติ บรรทัดฐานกลุ่มอ้างอิง การรับรู้การควบคุมพฤติกรรม และความตั้งใจในการป้องกันการติดเชื้อโรคทางเดินหายใจตะวันออกกลางของพยาบาลวิชาชีพen_US
dc.title.alternativeAttitude, Subjective Norm, Perceived Behavioral Control and Intention to Prevent Middle East Respiratory Syndrome Infection Among Registered Nursesen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.