Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67368
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ณัฐนนท์ ดวงดี | en_US |
dc.contributor.author | พุทธิพล ดำรงชัย | en_US |
dc.contributor.author | ชวิศ ศรีมณี | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-04-02T14:45:05Z | - |
dc.date.available | 2020-04-02T14:45:05Z | - |
dc.date.issued | 2562 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 26, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2562), 142-155 | en_US |
dc.identifier.issn | 0857-2178 | en_US |
dc.identifier.uri | http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/26_3/12.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67368 | - |
dc.description | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความถูกต้องข้อมูลความโน้มถ่วงพิภพทางอกาศ สำหรับการคำนวนหา ยีออยด์บริเวณลุ่มน้ำเจ้าพระยาด้วยการปรับแก้จุดตัดระหว่างแนวบิน ข้อมูลถูกจำแนกออกเป็นสองกรณี คือ ข้อมูลที่ทำการปรับแก้จุดตัดระหว่างแนวบินและข้อมูลที่ไม่ทำการปรับแก้จุดตัดระหว่างแนวบิน จากนั้นนำข้อมูลทั้งสองชุดมาทำการลดทอนลงอย่างต่อเนื่อง ลงสู่ระดับทะเลปานกลางเพื่อเปรียบเทียบกับข้อมูลความโน้มถ่วงพิภพภาคพื้นดิน ผลการทดสอบของข้อมูลทั้งสองชุดพบว่า ชุดข้อมูลที่ทำการปรับแก้จุดตัดระหว่างแนวบินให้ค่าความถูกต้องที่ดีกว่า โดยที่ค่าเฉลี่ยกำลังสองเท่ากับ 3.991 มิลลิแกล ในขณะที่ข้อมูลที่ไม่ทำการปรับแก้จุดตัดระหว่างแนวบินมีคำเฉลี่ยกำลังสองเท่ากับ 4.485 มิลลิแกล และนำข้อมูลทั้งสองชุดมาทำการคำนวณยีออยด์เพื่อเปรียบเทียบกับความสูงยีออยด์ที่ได้จากหมุนร่วมค่าระดับความสูง ผลการทดสอบของข้อมูลทั้งสองชุดพบว่าชุดข้อมูลที่ทำการปรับแก้จุดตัดระหว่างแนวบินให้ค่าเฉลี่ยกำลังสองที่ดีกว่าเท่ากับ 0.096 เมตร ในขณะที่ข้อมูลที่ไม่ทำการปรับแก้จุดตัดระหว่างแนวบินมีค่าเฉลี่ยกำลังสองท่ากับ 0.100 เมตร | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | การปรับแก้จุดตัดระหว่างแนวบิน | en_US |
dc.subject | แบบจำลองยีออยด์ | en_US |
dc.subject | การลดทอนลงอย่างต่อเนื่อง | en_US |
dc.subject | ลีสท์แคว์คอลโลเคชั่น | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์ความถูกต้องความโน้มถ่วงพิภพทางอากาศ โดยการปรับแก้แบบจุดตัดระหว่างแนวบินบริเวณลุ่มน้ำเจ้าพระยา | en_US |
dc.title.alternative | Analysis of Airborne Gravity Accuracy Using Cross-over Adjustment in Chao Phraya Basin | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.