Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67325
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกนกนภา บุญส่งประเสริฐen_US
dc.contributor.authorก้องภู นิมานันท์en_US
dc.date.accessioned2020-04-02T14:45:04Z-
dc.date.available2020-04-02T14:45:04Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 26, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2562), 1-13en_US
dc.identifier.issn0857-2178en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/26_3/01.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67325-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีen_US
dc.description.abstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงผลิตภาพกระบวนการผลิตเส้นก๋วยเตี๋ยวของโรงงานกรณีศึกษา จากการสัมภาษณ์ผู้จัดการทั่วไป ทำให้ทราบว่า ภาระงานของสายการผลิตกับจำนวนพนักงานมีความไม่สมดุลกัน สะท้อนให้เห็นถึงการใช้ทรัพยากรในการผลิตที่ยังไม่มีประสิทธิภาพ โดยผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการศึกษาในครั้งนี้มี 2 ประเกท ได้แก่ เส้นก๋วยเตี๋ยวแบบเส้นสด และเส้นก๋วยเตี๋ยวแบบเส้นกึ่งแห้ง โดยมีขอบเขตการศึกษาตั้งแต่กระบวนการทำความสะอาดข้าว จนถึงกระบวนการบรรจุเส้นก๋วยเตี๋ยว การศึกษาในครั้งนี้ดำเนินการปรับปรุงตามวงจรเดมมิ่ง โดยใช้ทฤษฎีการวิเคราะห์กระบวนการ ทฤษฎีการศึกษาเวลา ทฤษฎีการจัดสมดุลสายการผลิต ทฤษฎีผลิตภาพแรงงาน และทำการวิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุของกระบวนการผลิตสันก๊วยเดี๋ยว โดยการใช้เครื่องมือควบคุมคุณภาพร่วมกับทฤษฎีความสูญเสีย 7 ประการและหาแนวทางในการปรับปรุงด้วยหลักการ ECRS (Eliminate, Combine, Rearrange, Simplify) จากการศึกษาพบว่า เมื่อทำการปรับปรุงกระบวนการผลิตเส้นก๋วยเตี๋ยวแบบเส้นสดสามารถเพิ่มประสิทธิภาพของสายการผลิตเส้นก๋วยเตี๋ยวแบบเส้นสดจากเดิม 4.27 เปอร์เซ็นต์ รอบเวลาจริงของการผลิตลดลงเท่ากับ 8.13 เปอร์เซ็นต์ จำนวนพนักงานในกระบวนการผลิตเส้นก๋วยตี๋ยวแบบเส้นสดลดลง 4 คน และผลิตภาพแรงงานเพิ่มขึ้นเท่ากับ 41.57 เปอร์เซ็นต์ และเมื่อทำการปรับปรุงกระบวนการผลิตเส้นก๋วยเตี๋ยวแบบเส้นกึ่งแห้ง พบว่า ประสิทธิภาพของสายการผลิต ส้นก๋วยเตี๋ยวแบบเส้นกึ่งแห้ง และรอบเวลาจริงของการผลิตเท่าเดิม เท่ากับ 66.85 เปอร์เซ็นต์ และ 18.68 วินาทีต่อกิโลกรัม ตามลำดับเนื่องจากข้อจำกัดเกี่ยวกับเครื่องหั่นที่ไม่ได้มีการลงทุนเพิ่ม และขั้นตอนการบรรจุที่ไม่สามารถปลี่ยนแปลงได้ แต่การปรับปรุงดังกล่าวทำให้จำนวนพนักงานในกระบวนการผลิตเส้นก๋วยเตี๋ยวแบบเส้นกึ่งแห้งลดลง 5 คน และผลิตภาพแรงงานเพิ่มขึ้นเท่ากับ 16.59 เปอร์เซ็นต์en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectกระบวนการผลิตเส้นก๋วยเตี๋ยวen_US
dc.subjectทฤษฎีการวิเคราะห์กระบวนการen_US
dc.subjectทฤษฎีการศึกษาเวลาen_US
dc.subjectทฤษฎีการจัดการสมดุลสายการผลิตen_US
dc.subjectทฤษฎีผลิตภาพแรงงานen_US
dc.titleการปรับปรุงผลิตภาพกระบวนการผลิตเส้นก๋วยเตี๋ยว กรณีศึกษา: โรงงานผลิตเส้นก๋วยเตี๋ยวen_US
dc.title.alternativeProductivity Improvement of Noodle Production Process in Case Study: Noodle Production Factoryen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.