Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67307
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | กุลนันทน์ พุ่มไม้ | en_US |
dc.contributor.author | ปิยะนารถ จาติเกตุ | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-04-02T14:43:14Z | - |
dc.date.available | 2020-04-02T14:43:14Z | - |
dc.date.issued | 2560 | en_US |
dc.identifier.citation | เชียงใหม่ทันตแพทยสาร 38,2 (พ.ค.-ส.ค. 2560) 139-150 | en_US |
dc.identifier.issn | 0857-6920 | en_US |
dc.identifier.uri | http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext____454.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67307 | - |
dc.description | เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม | en_US |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์: เพื่ออธิบายกระบวนการไตร่ตรองของผู้ใช้บริการหมอฟันพื้นบ้านโดยใช้แบบจำลองการโน้มน้าวใจ วิธีการศึกษา: การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ ซึ่งศึกษาในผู้ใช้บริการที่เคยทำฟันเทียมกับหมอฟันพื้นบ้านจำนวน 20 คน ที่มีภูมิลำเนาอยู่ในอำเภอวังชิ้นจังหวัดแพร่ โดยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบบอลหิมะ เริ่มต้นจากผู้ที่มารับบริการทันตกรรมในโรงพยาบาลวังชิ้นที่เคยทำฟันเทียมกับหมอฟันพื้นบ้าน เก็บข้อมูลในระหว่างเดือนมิถุนายน ถึง สิงหาคม พ.ศ. 2559 โดยใช้แบบสัมภาษณ์ กึ่งโครงสร้างที่สร้างขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรม จากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการจำแนกประเภทข้อมูลและการสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย ผลการศึกษา: กระบวนการไตร่ตรองที่เกิดขึ้นในการใช้บริการทำฟันเทียมกับหมอฟันพื้นบ้านของผู้ใช้บริการเกิดขึ้นตั้งแต่รับรู้ว่าการสูญเสียฟันส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตประจำวันจนมีความจำเป็นต้องได้รับการใส่ฟันเทียม จึงเกิดการค้นหาข้อมูลจากผู้ให้บริการหรือผู้ที่มีประสบการณ์เกี่ยวกับขั้นตอนการทำฟันเทียม คุณภาพของฟันเทียม รูปแบบการให้บริการ และความน่าเชื่อถือของผู้ให้บริการ นอกจากนี้อารมณ์ความรู้สึกในระหว่างการได้รับข้อมูลไม่ว่าจะเป็นก่อน ระหว่าง หรือหลังทำฟันเทียมอาจส่งผลต่อกระบวนการไตร่ตรองได้เช่นกัน บทสรุป: เมื่อใช้แบบจำลองการโน้มน้าวใจในการประเมินกระบวนการไตร่ตรองของผู้ใช้บริการจึงพบว่าเป็นไปได้ทั้งเส้นทางหลักและเส้นทางรอง เพราะองค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการจูงใจและองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับความสามารถในการไตร่ตรองของผู้ใช้บริการแต่ละคนแตกต่างกัน | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | กระบวนการไตร่ตรอง | en_US |
dc.subject | หมอฟันพื้นบ้าน | en_US |
dc.subject | แบบ จำลองการโน้มน้าวใจ | en_US |
dc.title | กระบวนการไตร่ตรองของผู้ใช้บริการหมอฟันพื้นบ้านโดยใช้แบบจำลองโน้มน้าวใจ | en_US |
dc.title.alternative | Analytical Thinking Process of Folk Denturist’s Customers Using the Elaboration Likelihood Model | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.