Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67296
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกุลภพ สุทธิอาจen_US
dc.contributor.authorก่อกุศล รอดอารีย์en_US
dc.contributor.authorธนกร เกื้อกูลพิทักษ์en_US
dc.contributor.authorพลาพัฒน์ พิงคำขาen_US
dc.contributor.authorภูชิต โลกิตสถาพรen_US
dc.contributor.authorสุเมธี ยุทธวงศ์en_US
dc.contributor.authorอภิณัฐ คำอุดมen_US
dc.contributor.authorอารีรัตน์ นิรันต์สิทธิรัชต์en_US
dc.date.accessioned2020-04-02T14:43:14Z-
dc.date.available2020-04-02T14:43:14Z-
dc.date.issued2560en_US
dc.identifier.citationเชียงใหม่ทันตแพทยสาร 38,3 (ก.ย.-ธ.ค. 2560) 67-76en_US
dc.identifier.issn0857-6920en_US
dc.identifier.urihttp://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2560_38_3_461.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67296-
dc.descriptionเชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคมen_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: เปรียบเทียบความเที่ยงตรงของวิธีวัดแบบจำลองทันตกรรมชนิดดิจิตอลด้วยคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์กับการวัดโดยตรงจากแบบจำลองปลาสเตอร์ด้วยคาลิปเปอร์ชนิดดิจิตอล วัสดุและวิธีการ: สร้างแบบจำลองปลาสเตอร์มาตรฐานจำนวน 30 ชิ้น กราดผิวแบบจำลองด้วยเครื่องเลเซอร์แสกนเนอร์ทรีเชฟ ดี 810 เพื่อสร้างแบบจำลองดิจิตอลสามมิติ วัดระยะในแนวระนาบ 6 ระยะ (X1, X2,X3, X4, Z1 and Z2) และวัดระยะในแนวดิ่ง 4 ระยะ (Y1, Y2, Y3 and Y4) บนแบบจำลองดิจิตอลและแบบจำลองปลาสเตอร์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์และวิธีวัดโดยตรงด้วยคาลิปเปอร์ตามลำดับ ประเมินความน่าเชื่อถือระหว่างผู้วัดและภายในผู้วัดด้วยสถิติวัดความน่าเชื่อถือของเพียร์สัน (Pearson’s correlation test; r>0.7)วิเคราะห์ความเที่ยงตรงของการวัดด้วยวิธีวัดแบบตรงและแบบอ้อมโดยใช้สถิติทดสอบที-เทสต์ (α<0.05) ผลการศึกษา: ระยะ X1 ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=0.32) ในขณะที่ระยะเหลือ (X2, X3, X4, Z1, Z2, Y1, Y2, Y3 and Y4) มีค่าแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (α<0.05) สรุป: การวัดระยะบนแบบจำลองดิจิตอลด้วยวิธีอ้อมโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้ผลที่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับวิธีวัดโดยตรงจากแบบจำลองโดยใช้ดิจิตอลคาลิปเปอร์ซึ่งถือเป็นวิธีวัดมาตรฐาน แต่ความแตกต่างดังกล่าวอยู่ในช่วงที่สามารถยอมรับได้ในทางคลินิกen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการวัดโดยวิธีอ้อมen_US
dc.subjectแบบจำลองดิจิตอลสามมิติ ทางทันตกรรมen_US
dc.subjectความแม่นยำen_US
dc.titleความเที่ยงตรงของวิธีวัดโดยอ้อมบนแบบจำลองดิจิตอลทางทันตกรรมen_US
dc.title.alternativeThe Accuracy of Indirect Measuring Method on Dental Digital Modelsen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.