Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67295
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorยุทธนา คูวุฒยากรen_US
dc.contributor.authorพิริยะ เชิดสถิรกุลen_US
dc.contributor.authorกษาปณ์ พิเชฐโชติen_US
dc.date.accessioned2020-04-02T14:43:14Z-
dc.date.available2020-04-02T14:43:14Z-
dc.date.issued2560en_US
dc.identifier.citationเชียงใหม่ทันตแพทยสาร 38,3 (ก.ย.-ธ.ค. 2560) 59-66en_US
dc.identifier.issn0857-6920en_US
dc.identifier.urihttp://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2560_38_3_460.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67295-
dc.descriptionเชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคมen_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้ลมอุ่นต่อกำลังยึดดึงระดับจุลภาคของเรซินซีเมนต์ที่ใช้ร่วมกับสารยึดติดระบบโททอลเอทช์ในคลองรากฟันระดับต่าง ๆใช้ฟันกรามน้อยล่างที่มี 1 คลองรากฟันจำนวน 10 ซี่ ตัดตัวฟันให้ตั้งฉากกับแนวแกนฟันที่ระดับรอยต่อเคลือบฟันกับเคลือบรากฟัน ขยายคลองรากฟันให้มีขนาดเหมาะสมกับเดือยฟันเส้นใยไฟเบอร์เคลียร์ (FibreKleer post:Kerr, USA) ที่ความลึก 10 มิลลิเมตร เตรียมคลองรากฟันด้วยสารยึดติดออพติบอนด์โซโลพลัส (Optibond Solo Plus: Kerr, USA) ใช้ลมอุณหภูมิ 20 หรือ 38 องศา เซลเซียสเป่ากำจัดตัวทำละลายและทำให้คลองรากฟันแห้งยึดเดือยฟันกับคลองรากฟันด้วยเรซินซีเมนต์เน็กซัสทรี (Nx 3 Nexus : Kerr, USA) เก็บชิ้นงานไว้ในน�้ำที่อุณหภูมิ37 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 24 ชั่วโมง ตัดแบ่งรากฟันเป็นแผ่นตามแนวขวางเป็น 6 ชิ้น แบ่งฟันออกเป็น 2 ส่วนคือส่วนต้น 3 ชิ้นและส่วนปลาย 3 ชิ้น และกรอแต่งให้ได้รูปนาฬิกาทรายให้มีพื้นที่ยึดติด 1±0.1 ตารางมิลลิเมตร นำมาวัดค่ากำลังยึดดึงระดับจุลภาค วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติความแปรปรวนแบบสองทางร่วมกับการวิเคราะห์เชิงซ้อนด้วยวิธีทูกีย์ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ภายใต้ข้อจำกัดของการศึกษานี้ สรุปได้ว่าอุณหภูมิลมที่เพิ่มขึ้นไม่มีผลต่อค่ากำลังยึดดึงระดับจุลภาคของเรซินซีเมนต์ที่ใช้ร่วมกับสารยึดติดระบบโททอลเอทช์ กำลังยึดดึงระดับจุลภาคใน คลองรากฟันส่วนต้นมีค่ามากกว่าในคลองรากฟันส่วนปลายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectลมอุ่นen_US
dc.subjectเรซินซีเมนต์ที่ใช้ร่วมกับสารยึดติดระบบ โททอลเอทชen_US
dc.subjectกำลังยึดดึงระดับจุลภาคen_US
dc.titleผลของการใช้ลมอุ่นต่อกำลังยึดดึงระดับจุลภาคของเรซินซีเมนต์ที่ใช้ร่วมกับสารยึดติดระบบโททอลเอทช์ในคลองรากฟันที่ระดับต่างๆen_US
dc.title.alternativeEffect of Warm Air Drying on Micro-tensile Bond Strength of Resin Cement with Total-etch Adhesive System to Root Canal Dentin at Different Levelsen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.