Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67276
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | วิภาณี บุสษา | en_US |
dc.contributor.author | สุภารัตน์ วังศรีคูณ | en_US |
dc.contributor.author | อัจฉรา สุคนธสรรพ์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-04-02T14:43:13Z | - |
dc.date.available | 2020-04-02T14:43:13Z | - |
dc.date.issued | 2560 | en_US |
dc.identifier.citation | พยาบาลสาร 44, 4 (ต.ค.-ธ.ค. 2560), 49-60 | en_US |
dc.identifier.issn | 0125-5118 | en_US |
dc.identifier.uri | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/135601/101316 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67276 | - |
dc.description | วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ | en_US |
dc.description.abstract | การทำความสะอาดแผลถือเป็นขั้นตอนที่มีความสำคัญอย่างยิ่งที่จะช่วยลดความเสี่ยงในการติดเชื้อของแผลฉีกขาด การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการสวนล้างแผลโดยใช้เทคนิคการควบคุมแรงดันต่อการติดเชื้อของผู้มีแผลฉีกขาดและความพึงพอใจของผู้มีแผลฉีกขาดต่อการทำความสะอาดแผล กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้มีแผลฉีกขาดที่มารับบริการแผนกอุบัติเหตุฉุกเฉินจำนวน 44 คน โดยแบ่งเป็นกลุ่มควบคุมซึ่งได้รับการทำความสะอาดแผลด้วยวิธีปกติจำนวน 22 คน และกลุ่มทดลองซึ่งได้รับการทำความสะอาดแผลด้วยวิธีสวนล้างแผลโดยใช้เทคนิคการควบคุมแรงดันจำนวน 22 คน ทั้งสองกลุ่มได้รับการจับคู่ โดยพิจารณาจาก ขนาดของแผล ตำแหน่งของร่างกายที่เกิดแผล ระยะเวลาก่อนการจัดการแผล ประวัติการเป็นโรคเบาหวาน และการสูบบุหรี่อุปกรณ์สำหรับการสวนล้างแผลโดยใช้เทคนิคการควบคุมแรงดัน พัฒนาโดยผู้วิจัยและตรวจสอบแรงดันสำหรับการสวนล้างแผลโดยผู้เชี่ยวชาญทางวิศวกรรม เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบประเมินความพึงพอใจต่อการทำความสะอาดแผล และแบบประเมินการติดเชื้อของแผลฉีกขาด ซึ่งพัฒนาจากเกณฑ์การประเมินแผลติดเชื้อของศูนย์ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อประเทศสหรัฐอเมริกา (Center for Disease Control and Prevention, 2013) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติแมนวิทนีย์ยู และสถิติฟิชเชอร์ ผลการศึกษาพบว่า 1. ความพึงพอใจต่อการทำความสะอาดแผลของผู้มีแผลฉีกขาดในกลุ่มทดลอง (mean = 73, SD = 0.70, median = 9.00) สูงกว่ากลุ่มควบคุม (mean = 7.14, SD = 0.71, median = 7.00) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.001) 2. การติดเชื้อของแผลฉีกขาดของกลุ่มตัวอย่างทั้ง 2 กลุ่ม (กลุ่มควบคุมร้อยละ 13.64, กลุ่มทดลองร้อยละ 0) ไม่แตกต่างกันทางสถิติ (p = 0.12) ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า วิธีการสวนล้างแผลโดยใช้เทคนิคการควบคุมแรงดันเป็นวิธี ทำความสะอาดแผลที่สามารถนำไปใช้ในผู้มีแผลฉีกขาดได้ | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | แผลฉีกขาด | en_US |
dc.subject | การสวนล้างแผล | en_US |
dc.subject | การทำความสะอาดแผล | en_US |
dc.subject | ความพึงพอใจ | en_US |
dc.subject | แผลติดเชื้อ | en_US |
dc.title | ผลของการสวนล้างแผลโดยใช้เทคนิคการควบคุมแรงดันต่อ ความพึงพอใจและการติดเชื้อของผู้มีแผลฉีกขาด | en_US |
dc.title.alternative | Effects ofWound Irrigation Using Pressure Controlled Technique on Satisfaction and Infection AmongPersons with Lacerated Wound | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.