Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67248
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอิฏฐาพร คำกุ้มen_US
dc.contributor.authorนงเยาว์ เกษตร์ภิบาลen_US
dc.contributor.authorจิตตาภรณ์ จิตรีเชื้อen_US
dc.date.accessioned2020-04-02T14:43:13Z-
dc.date.available2020-04-02T14:43:13Z-
dc.date.issued2560en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 44, ฉบับพิเศษ (1) (ธ.ค. 2560), 1-10en_US
dc.identifier.issn0125-5118en_US
dc.identifier.urihttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/148006/108963en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67248-
dc.descriptionวารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับen_US
dc.description.abstractการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะที่สัมพันธ์กับการคาสายสวนปัสสาวะ เป็นการติดเชื้อที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุในสถานดูแลระยะยาว ดังนั้นพยาบาลผู้มีบทบาทสำคัญในการดูแลจึงควรมีความรู้และทักษะการปฏิบัติเพื่อการป้องกันการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะที่สัมพันธ์กับการคาสายสวนปัสสาวะ การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการโค้ชต่อความรู้และการปฏิบัติของพยาบาลในการป้องกันการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะในผู้สูงอายุในสถานดูแลระยะยาว ระหว่างเดือน ตุลาคม พ.ศ. 2557 ถึง เดือน มกราคม พ.ศ. 2558 กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในสถานดูแลระยะยาวจำนวน 16 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบวัดความรู้ แบบสังเกตการปฏิบัติ แผนการโค้ชและคู่มือการป้องกันการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะที่สัมพันธ์กับการคาสายสวนปัสสาวะ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติทดสอบค่าที และสถิติไคสแควร์ ผลการศึกษา พบว่าพยาบาลมีคะแนนเฉลี่ยความรู้ในการป้องกันการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะที่สัมพันธ์กับการคาสายสวนปัสสาวะหลังการโค้ชมากกว่าก่อนการโค้ชอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) และสัดส่วนการปฏิบัติที่ถูกต้องในการป้องกันการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะที่สัมพันธ์กับการคาสายสวนปัสสาวะหลังการโค้ชมากกว่าก่อนการโค้ช อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) การวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่า การโค้ชทำให้พยาบาลมีความรู้และการปฏิบัติที่ถูกต้องในการป้องกันการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะที่สัมพันธ์กับการคาสายสวนปัสสาวะในสถานดูแลระยะยาวเพิ่มขึ้น ดังนั้น จึงควรส่งเสริมให้มีการนำรูปแบบการโค้ชไปใช้ในการเพิ่มความรู้และทักษะการปฏิบัติในกิจกรรมการพยาบาลอื่นๆen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการโค้ชen_US
dc.subjectความรู้en_US
dc.subjectการปฏิบัติen_US
dc.subjectพยาบาลen_US
dc.subjectการป้องกันการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะที่สัมพันธ์กับการคาสายสวนปัสสาวะen_US
dc.titleผลของการโค้ชต่อความรู้และการปฏิบัติของพยาบาลในการป้องกันการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะในผู้สูงอายุในสถานดูแลระยะยาวen_US
dc.title.alternativeEffects of Coaching on Nurses’ Knowledge and Practices Regarding Urinary Tract Infection Prevention in Older Persons In Long-term Care Facilitiesen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.