Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67228
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorลลิดา นพคุณen_US
dc.contributor.authorนัทธมน วุทธานนท์en_US
dc.date.accessioned2020-04-02T14:43:12Z-
dc.date.available2020-04-02T14:43:12Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 46, ฉบับพิเศษ (ธ.ค. 2562), 49-59en_US
dc.identifier.issn0125-5118en_US
dc.identifier.urihttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/237337/162699en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67228-
dc.descriptionวารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับen_US
dc.description.abstractความต้องการการดูแลแบบสนับสนุนที่ได้รับการตอบสนองเป็นปัจจัยสำคัญในการลดปัญหาการขาดสมดุลในชีวิตในผู้ป่วยมะเร็งต่อมลูกหมากที่เป็นผลจากโรคและการรักษา การศึกษาเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการการดูแลแบบสนับสนุนในผู้ที่เป็นมะเร็งต่อมลูกหมากที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง ระหว่างเดือนมกราคม ถึงมิถุนายน 2560 กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 127 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามความต้องการการดูแลแบบสนับสนุนของผู้ป่วยมะเร็ง ฉบับภาษาไทย แปลโดยสุพันธ์ อุ่นใจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างรายงานความต้องการการดูแลแบบสนับสนุนร้อยละ 23.6 ของจำนวนทั้งหมด โดยมีค่าเฉลี่ยคะแนนความต้องการการดูแลแบบสนับสนุนด้านจิตใจ ด้านการดูแลและช่วยเหลือผู้ป่วย ด้านระบบการดูแลและข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพ ด้านร่างกายและการทำกิจวัตรประจำวัน อยู่ในระดับต่ำ ( =1.49; S.D.=0.63; =1.53; S.D.=0.64; =1.59; S.D.=0.61; =1.60; S.D.=0.65 ตามลำดับ) โดยคิดเป็นร้อยละ 27.6, 40.2, 14.2, 23.6 ตามลำดับ ขณะที่มีความต้องการการดูแลด้านสัมพันธภาพทางเพศ อยู่ในระดับปานกลาง ( =1.67; S.D.=0.61) คิดเป็นร้อยละ 21.3 ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนการพยาบาลเพื่อตอบสนองให้ผู้ที่เป็นมะเร็งต่อมลูกหมากได้รับการดูแลแบบสนับสนุนตามความต้องการซึ่งจะส่งเสริมให้การดำรงชีวิตของผู้ที่เป็นมะเร็งต่อมลูกหมากกลับสู่สภาพสมดุลดังเดิมen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectมะเร็งต่อมลูกหมากen_US
dc.subjectความต้องการการดูแลแบบสนับสนุนen_US
dc.titleความต้องการการดูแลแบบสนับสนุนของผู้ที่เป็นมะเร็งต่อมลูกหมากen_US
dc.title.alternativeSupportive Care Needs Among Persons with Prostate Canceren_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.