Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67172
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนิยดา ทิตารามen_US
dc.date.accessioned2020-04-02T14:32:31Z-
dc.date.available2020-04-02T14:32:31Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.citationเชียงใหม่สัตวแพทยสาร 16, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2561), 47-66en_US
dc.identifier.issn2465-4604en_US
dc.identifier.urihttp://www.vet.cmu.ac.th/cmvj/document/vol.16/number1/review-2.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67172-
dc.descriptionเชียงใหม่สัตวแพทยสาร เป็นวารสารเผยแพร่เผยแพร่ผลงานทางวิชาการที่มีคุณภาพในลักษณะต่าง ๆ เช่น บทความต้นฉบับ (Original article) บทความปริทัศน์ (Review article) รายงานฉบับย่อ (Short communication) และรายงานสัตว์ป่วย (Case report) ที่เกี่ยวข้องกับทางด้านสัตวแพทยศาสตร์ (Veterinary Science) และวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีการสัตว์ (Animal Science and Technology) ได้แก่ ชีววิทยา สรีรวิทยา จุลชีววิทยา พยาธิวิทยา โภชนาการศาสตร์ กายวิภาคศาสตร์ พันธุศาสตร์ อายุรศาสตร์ ศัลยศาสตร์ สูติศาสตร์ วิทยาศาสตร์ทางชีวภาพวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ระบาดวิทยาและแนวทางสุขภาพหนึ่งเดียวen_US
dc.description.abstractการเสื่อมและตีบแคบของกระดูกสันหลังส่วนเอวและกระดูกใต้กระเบนเหน็บ (degenerative lumbosacral stenosis; DLSS) ในสุนัขเป็นความผิดปกติที่พบได้บ่อยในสุนัขพันธุ์ใหญ่ โดยมีลักษณะความผิดปกติที่เกิดขึ้น ได้แก่ การเสื่อมของหมอนรองกระดูก การตีบแคบของช่องไขสันหลังและการสร้างที่มากเกินของส่วนกระดูกและเนื้อเยื่ออ่อน การตีบ แคบของช่องกระดูกสันหลังส่วนเอวและกระดูกใต้กระเบนเหน็บและการกดทับที่กลุ่มเส้นประสาทคอดาร์ อิไควนา (cauda equina) เป็นสาเหตุทำให้สุนัขมีอาการปวดที่บั้นเอวส่วนท้าย อาการเจ็บขาหลัง และมีอาการทางระบบประสาทได้ การ วินิจฉัยโรคทำได้จากข้อมูลประวัติสัตว์ป่วย อาการแสดงทางคลินิก ผลจากการตรวจร่างกาย และการวินิจฉัยจากภาพถ่าย รังสีรวมทั้งภาพ การถ่ายภาพรังสีส่วนตัดคอมพิวเตอร์ หรือภาพถ่ายรังสีโดยใช้คลื่นสนามแม่เหล็ก การถ่ายภาพรังสีส่วน ตัดคอมพิวเตอร์หรือภาพถ่ายรังสีโดยใช้คลื่นสนามแม่เหล็ก ช่วยให้มองเห็นการเปลี่ยนแปลงของกระดูกและเนื้อเยื่ออ่อน การระบุตำแหน่งและลักษณะของรอยโรคก่อนการทำศัลยกรรม จะทำให้การรักษาทางศัลยกรรมนั้นแก้ไขได้ตรงกับจุดของ รอยโรคที่ถูกกดทับ การทำศัลยกรรมเพื่อลดการกดทับโดยตัดกระดูกลามินาด้านบนออก (dorsal decompressive laminectomy) เป็นวิธีศัลยกรรมที่นิยมในการรักษา DLSS และอาจทำร่วมกับเทคนิคศัลยกรรมอื่น ที่ช่วยลดการกดทับที่กลุ่มเส้นประสาทคอดาร์ อิไควนา ได้แก่ การเปิดช่องด้านบน (dorsal fenestration), การตัดหมอนรองกระดูกออกบางส่วน (partial discectomy) และเทคนิคการยึดตรึง (fixation) ได้แก่ การถ่างและเชื่อมรวม (distraction-fusion) การยึดด้วยเพดิเคิลสกรูและรอด (pedicle-screw and rod fixation) และการใช้หมอนรองกระดูกไทเทเนียมทดแทน เป็นเทคนิคศัลยกรรมเพื่อสร้างความมั่นคงแก่รอยต่อ lumbosacrum เพื่อให้สุนัขมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะสัตวแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการตีบแคบของกระดูกสันหลังส่วนเอวและกระดูกใต้กระเบนเหน็บen_US
dc.subjectการเสื่อมของหมอนรองกระดูกen_US
dc.subjectศัลยกรรมเพื่อลดการกดทับen_US
dc.subjectสุนัขen_US
dc.titleการเสื่อมและตีบแคบของกระดูกสันหลังส่วนเอวและกระดูกใต้กระเบนเหน็บในสุนัขen_US
dc.title.alternativeDegenerative lumbosacral stenosis in dogen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.