Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67170
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorลัดดาวรรณ สมรูปen_US
dc.contributor.authorกณวีร์ วาฤทธิ์en_US
dc.contributor.authorรักธรรม เมฆไตรรัตน์en_US
dc.contributor.authorชฎารัตน์ อัมพะเศวตen_US
dc.contributor.authorนิยดา ทิตารามen_US
dc.date.accessioned2020-04-02T14:32:31Z-
dc.date.available2020-04-02T14:32:31Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.citationเชียงใหม่สัตวแพทยสาร 16, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2561), 17-25en_US
dc.identifier.issn2465-4604en_US
dc.identifier.urihttp://www.vet.cmu.ac.th/cmvj/document/vol.16/number1/OriginalArticle-2.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67170-
dc.descriptionเชียงใหม่สัตวแพทยสาร เป็นวารสารเผยแพร่เผยแพร่ผลงานทางวิชาการที่มีคุณภาพในลักษณะต่าง ๆ เช่น บทความต้นฉบับ (Original article) บทความปริทัศน์ (Review article) รายงานฉบับย่อ (Short communication) และรายงานสัตว์ป่วย (Case report) ที่เกี่ยวข้องกับทางด้านสัตวแพทยศาสตร์ (Veterinary Science) และวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีการสัตว์ (Animal Science and Technology) ได้แก่ ชีววิทยา สรีรวิทยา จุลชีววิทยา พยาธิวิทยา โภชนาการศาสตร์ กายวิภาคศาสตร์ พันธุศาสตร์ อายุรศาสตร์ ศัลยศาสตร์ สูติศาสตร์ วิทยาศาสตร์ทางชีวภาพวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ระบาดวิทยาและแนวทางสุขภาพหนึ่งเดียวen_US
dc.description.abstractการศึกษาผลของการให้ยาทรามาดอล ขนาด 4.4 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม เข้าทางหลอดเลือดดำในแม่สุนัขที่ได้รับการศัลยกรรมผ่าคลอด จำนวน 10 ตัว โดยเฝ้าระวังและติดตามการสลบในแม่สุนัขจนฟื้นสลบเต็มที่ และเก็บตัวอย่างนมน้ำเหลือง 3 มิลลิลิตรที่เวลา 0, 0.5, 1, 1.5, 2, 3, 4, 5และ 6ชั่วโมง หลังการให้ยา เพื่อตรวจระดับยาทรามาดอลและสารเมตาบอไลท์ M1 ด้วยวิธีโครมาโทกราฟี ของเหลวแบบสมรรถนะสูง พบว่าอัตราการบีบตัวของหัวใจ อัตราการหายใจ ชีพจรค่าความดันโลหิต ค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนในเม็ดเลือดแดงตลอดการวางยาสลบปกติอยู่ในเกณฑ์ปกติ ไม่พบภาวะแทรกซ้อนในแม่และลูกสุนัขระดับยาทรามาดอลในนมน้ำเหลืองสูงสุด (2,836.10 นาโนกรัมต่อมิลลิลิตร) ในชั่วโมงที่ 0.5 (95% CI: 4,105.80-1,566.30) และพบการลดลงอย่างต่อเนื่องโดยระดับยามีค่าน้อยกว่าความเข้มข้นต่ำสุดที่ตรวจได้ในชั่วโมงที่ 4 ถึง 6 ความเข้มข้นของ M1 ในนมน้ำเหลืองในชั่วโมงที่ 0 เท่ากับ 137.92 นาโนกรัมต่อมิลลิลิตร (95%CI:183.21-95.90)และความเข้มข้นที่ตรวจพบมีค่าเพิ่มขึ้น (p < 0.05) และสูงสุดที่เวลา 0.5 ชั่วโมง (295.55 นาโนกรัมต่อมิลลิลิตร; 95%CI: 442.22-148.90) จากนั้นลดลงจนมีค่าน้อยกว่าความเข้มข้นต่ำสุดที่วัดได้ในชั่วโมงที่ 4 ถึง 6 ตามลำดับ สรุปได้ว่าควรให้ลูกสุนัขกินนมจากแม่สุนัขภายหลังการฉีดทรามาดอลเข้าหลอดเลือดดำอย่างน้อย 3 ชั่วโมงen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะสัตวแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectทรามาดอลen_US
dc.subjectเมตาโบท์en_US
dc.subjectM1en_US
dc.subjectนมน้ำเหลืองen_US
dc.subjectศัลยกรรมผ่าคลอดen_US
dc.subjectแม่สุนัขen_US
dc.titleระดับยาทรามาดอลในนมน้ำเหลืองของแม่สุนัขที่ได้รับยาทรามาดอล ทางหลอดเลือดดำหลังการผ่าคลอดen_US
dc.title.alternativeTramadol level in colostrum of bitch receiving intravenous tramadol after cesarean sectionen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.