Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67168
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวรางคณา ไชยซาววงษ์en_US
dc.contributor.authorชุลีพร ศักดิ์สง่าวงษ์en_US
dc.contributor.authorรวิศา วรินทร์en_US
dc.contributor.authorจำรัส เลิศศร รัชฎาพร บริพันธุ์en_US
dc.contributor.authorมนทิรา อินต๊ะนอนen_US
dc.date.accessioned2020-04-02T14:32:31Z-
dc.date.available2020-04-02T14:32:31Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.citationเชียงใหม่สัตวแพทยสาร 16, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2561), 27-36en_US
dc.identifier.issn2465-4604en_US
dc.identifier.urihttp://www.vet.cmu.ac.th/cmvj/document/vol.16/number1/OriginalArticle-3.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67168-
dc.descriptionเชียงใหม่สัตวแพทยสาร เป็นวารสารเผยแพร่เผยแพร่ผลงานทางวิชาการที่มีคุณภาพในลักษณะต่าง ๆ เช่น บทความต้นฉบับ (Original article) บทความปริทัศน์ (Review article) รายงานฉบับย่อ (Short communication) และรายงานสัตว์ป่วย (Case report) ที่เกี่ยวข้องกับทางด้านสัตวแพทยศาสตร์ (Veterinary Science) และวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีการสัตว์ (Animal Science and Technology) ได้แก่ ชีววิทยา สรีรวิทยา จุลชีววิทยา พยาธิวิทยา โภชนาการศาสตร์ กายวิภาคศาสตร์ พันธุศาสตร์ อายุรศาสตร์ ศัลยศาสตร์ สูติศาสตร์ วิทยาศาสตร์ทางชีวภาพวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ระบาดวิทยาและแนวทางสุขภาพหนึ่งเดียวen_US
dc.description.abstractยาต้านจุลชีพตกค้างในเนื้อสัตว์ก่อให้เกิดผลเสียต่อผู้บริโภค โดยเฉพาะการดื้อยาที่เป็นปัญหาทางสาธารณสุขทั่วโลก วัตถุประสงค์ของงานวิจัยเพื่อศึกษาประสิทธิภาพของชุดทดสอบยาต้านจุลชีพตกค้างที่ผลิตขึ้น โดยใช้หลักการยับยั้งเชื้อ ผลการวิจัยพบว่า ขีดจำกัดของยากลุ่มเตตราไซคลินที่ชุดทดสอบสามารถตรวจพบได้คือ 400 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม เมื่อนำชุดทดสอบไปตรวจหายาต้านจุลชีพตกค้างในเนื้อสัตว์ที่วางจำหน่ายในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 150 ตัวอย่าง พบผลบวกจำนวน 8 ตัวอย่าง คิดเป็นร้ อยละ 5.33 โดยให้ผลสอดคล้องกับ CM® test และไม่สอดคล้องกับ Premi® test เมื่อนำตัวอย่างที่ให้ผลบวกมาตรวจหาปริมาณยาในกลุ่มเตตราไซคลิน ด้วยวิธี High performance liquid chromatography พบว่ามี 2 ตัวอย่างที่พบการตกค้างของยา ได้แก่ ออกซีเตตราไซคลินร่วมกับคลอเตตราไซคลิน และ เตตราไซคลินร่วมกับออกซีเตตราไซคลิน ในปริมาณ 141, 128, 154, 145 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม ตามลำดับ ชุดทดสอบนี้สามารถใช้ตรวจเบื้องต้นเพื่อเฝ้าระวังยาต้านจุลชีพตกค้างในเนื้อสัตว์ได้ตามขีดจำกัดในการตรวจพบดังกล่าวข้างต้น ชุดทดสอบนี้มีราคาถูกและมีขั้นตอนในการทดสอบไม่ซับซ้อน นอกจากนี้ ผลวิจัยแสดงถึงสถานการณ์ยาต้านจุลชีพตกค้างใน เนื้อสัตว์ที่บ่งชี้ถึงความเสี่ยงต่อมนุษย์และต้องการความตระหนักและร่วมมือกันจากทุกฝ่ายในการแก้ไขปัญหาen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะสัตวแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectชุดทดสอบen_US
dc.subjectยาต้านจุลชีพตกค้างen_US
dc.subjectยับยั้งเชื่อจุลชีพen_US
dc.subjectเตตราไซคลินen_US
dc.subjectค่าต่ำสุดที่ควรตรวจจับได้en_US
dc.subjectเนื้อสัตว์en_US
dc.titleประสิทธิภาพของชุดทดสอบยาต้านจุลชีพตกค้างในเนื้อสัตว์ โดยใช้หลักการยับยั้งเชื้อจุลชีพen_US
dc.title.alternativePerformance of test kit for antimicrobial residue in meats using microbial inhibition assayen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.