Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67069
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปิยะวิทย์ ทิพรสen_US
dc.date.accessioned2019-12-03T09:01:06Z-
dc.date.available2019-12-03T09:01:06Z-
dc.date.issued2559en_US
dc.identifier.citationวารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 20, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2562), 93-124en_US
dc.identifier.issn0859-8479en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/CMJE/article/view/69099/59609en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67069-
dc.descriptionวารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายใต้การดำเนินงานโดยคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รับพิจารณาบทความวิชาการ บทความวิจัย ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์โดยใช้รูปแบบการการพิจารณาบทความโดยที่ผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบชื่อผู้เขียน และผู้เขียนจะไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (Double Blind Process) มีจุดประสงค์เพื่อเผยแพร่วิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ และเป็นสื่อกลางในการรายงานความก้าวหน้าทางวิชาการen_US
dc.description.abstractบทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อนําเสนอความสําคัญและวิธีศึกษาการวัดประสิทธิภาพทางเทคนิคการผลิตผลิตผลทางการเกษตรแบบมุ่งเน้นการใช้ปัจจัยการผลิตด้วยตัวแบบการวิเคราะห์ขอบเขตผลผลิตเชิงสุ่ม (SFA) ประสิทธิภาพทางเทคนิคมีความสําคัยสําคัญที่จะทําให้เกิดการผนึกกําลังกันของนักวิจัยและ/หรือนักขับเคลื่อนนโยบายทั่วโลก โดยเฉพาะประเทศกําลังพัฒนาและประเทศพัฒนาแล้ว นิยมใช้ระดับประสิทธิภาพทางเทคนิคเป็นตัวชี้วัดประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตรโดยเฉพาะการผลิตข้าวหรือผลิตผลอื่นๆ เนื่องจากมีผลต่อการเติบโตทางด้านผลิตภาพการผลิตข้าวของประเทศ ประสิทธิภาพการผลิตถูกนําเสนอตามแนวคิดของ Farell (1957) ทั้งนี้ ในส่วนของประสิทธิภาพทางเทคนิคแบบมุ่งเน้นการใช้ปัจจัยการผลิต Farell อธิบายว่าเป็นความสามารถของผู้ผลิตในการใช้ปัจจัยการผลิตหรือเทคโนโลยีการผลิตที่มีอยู่ให้น้อยที่สุดเพื่อผลิตผลผลิตให้ได้สูงสุดที่เป็นไปได้ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง คือ สามารถใช้ปัจจัยการผลิตน้อยแต่ได้ผลผลิตมาก จากแนวคิดของ Farell นําไปสู่การทํานายค่าระดับประสิทธิภาพทางเทคนิค 2 แบบ คือ (1) แบบพาราเมทริก ซึ่งเป็นเทคนิคทางเศรษฐมิติที่ใช้การประมาณค่าขอบเขตผลผลิตเชิงสุ่มด้วยตัวแบบ SFA ร่วมกับตัวแบบอิทธิพลความไม่มีประสิทธิภาพ (IEM) (2) แบบนอนพาราเมทริก ซึ่งเป็นเทคนิคการวัดด้วยโปรแกรมเชิงเส้นตรงด้วยตัวแบบ DEA สําหรับเครื่องมือวัดระดับประสิทธิภาพทางเทคนิคของผู้ผลิตผลิตผลทางการเกษตรในระดับสากล ตัวแบบ SFA จะได้รับความนิยมมากที่สุด เนื่องจากสามารถวัดประสิทธิภาพทางเทคนิคและความไม่มีประสิทธิภาพทางเทคนิคที่เกิดจากความคลาดเคลื่อนที่ผู้ผลิตไม่สามารถควบคุมได้ในช่วงการผลิต ไม่ว่าจะเป็นความคลาดเคลื่อนจากตัวผู้ผลิตหรือความคลาดเคลื่อนจากภายนอกที่ผู้ผลิตไม่สามารถควบคุมได้ ซึ่งความคลาดเคลื่อนเหล่านี้ล้วนมีอิทธิพลต่อขอบเขตผลผลิตทั้งสิ้นen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectประสิทธิภาพการผลิตen_US
dc.subjectระดับประสิทธิภาพทางเทคนิคen_US
dc.subjectผลิตผลทางการเกษตรen_US
dc.subjectฟังก์ชันขอบเขตผลผลิตen_US
dc.subjectการวิเคราะห์ขอบเขตผลผลิตเชิงสุ่ม ตัวแบบอิทธิพลความไม่มีประสิทธิภาพen_US
dc.titleวิธีวัดประสิทธิภาพทางเทคนิคของผู้ผลิตผลิตผลทางการเกษตรด้วยตัวแบบการวิเคราะห์ขอบเขตผลผลิตเชิงสุ่มen_US
dc.title.alternativeTechnical Efficiency Approach of Agricultural Producers by Stochastic Frontier Analysisen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.