Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67000
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพัลลภ สุวรรณอำไพen_US
dc.contributor.authorจินตนา อิทธิเดชารณen_US
dc.contributor.authorเพ็ญพิชชา วนจันทรรักษ์en_US
dc.contributor.authorประดุง สวนพุฒen_US
dc.date.accessioned2019-12-03T08:56:55Z-
dc.date.available2019-12-03T08:56:55Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationเชียงใหม่ทันตแพทยสาร 40,3 (ก.ย.-ธ.ค. 2562) 113-123en_US
dc.identifier.issn0857-6920en_US
dc.identifier.urihttp://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2562_40_3_531.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67000-
dc.descriptionเชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคมen_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของพลาสมาแบบนอน-เทอร์มอลที่ความดันบรรยากาศในการกำจัดแผ่นชีวภาพของราแคนดิดาอัลบิแคนส์ วัสดุอุปกรณ์และวิธีการ: เป็นการศึกษาในห้องปฏิบัติการ ราแคนดิดาอัลบิแคนส์สำยพันธุ์ ATCC 10231 และสายพันธุ์คลินิก 2 สาย พันธุ์ แบ่งกลุ่มกำรทดลองออกเป็น 5 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 เป็นกลุ่มควบคุม กลุ่มที่ 2, 3, 4 และ 5 เป็นกลุ่มทดลองที่นำจุลชีพไปสัมผัสพลาสมา เป็นเวลา 2, 5, 8 และ 10 นาที ตามลำดับ เพื่อหาระยะเวลาที่น้อยที่สุดที่สามารถกำจัดราได้อย่างมีประสิทธิภาพ วัดการเจริญเติบโตของจุลชีพโดยวิธีนับจำนวนโคโลนีที่ปรากฏ และวิธีเอ็มทีที จากนั้นทดสอบประสิทธิภาพของพลาสมาแบบนอน-เทอร์มอลที่ความดันบรรยากาศ ในการกำจัดแผ่นชีวภาพของราแคนดิดาอัลบิแคนส์ทั้ง 3 สายพันธุ์ บนแผ่นเรซินอะคริลิกภายในระยะเวลาที่หาได้ข้างต้น ผลการศึกษา: การทดสอบพบว่าปริมาณราแคนดิดาอัลบิแคนส์สายพันธุ์ ATCC 10231 และสายพันธุ์คลินิกในกลุ่มทดลองลดลงอย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) หลังสัมผัสกับพลาสมาแบบนอน-เทอร์มอลที่ความดันบรรยากาศเป็นเวลา 8 นาที โดยพลาสมาสามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของราสายพันธุ์ ATCC 10231 และสายพันธุ์คลินิกได้ร้อยละ 92.30, 88.35 และ 88.92 ตามลำดับ เมื่อวิเคราะห์ปริมาณจุลชีพโดยวิธีนับจำนวนโคโลนี แต่ยับยั้งได้เพียงร้อยละ 26-51 เมื่อวิเคราะห์โดยวิธีเอ็มทีที นอกจากนี้พลาสมาแบบนอน-เทอร์มอลที่ความดันบรรยากาศมีประสิทธิภาพในการกำจัดหรือต้านแผ่นชีวภาพของกลุ่มทดลองของราทั้ง 3 สายพันธุ์ ได้อย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) เมื่อแผ่นชีวภาพราแคนดิดาอัลบิแคนส์บนแผ่นเรซินอะคริลิกได้สัมผัสกับพลาสมาเป็นเวลา 8 นาที สรุป: พลาสมาแบบนอน-เทอร์มอลที่ความดันบรรยากาศมีประสิทธิภาพในการกำจัดหรือต้านแผ่นชีวภาพของราแคนดิดาอัลบิ-แคนส์บนแผ่นเรซินอะคริลิกได้อย่างมีนัยสำคัญ เมื่อแผ่นชีวภาพนั้นได้สัมผัสกับพลาสมาเป็นเวลาไม่ต่ำกว่า 8 นาทีen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectพลาสมาแบบนอน-เทอร์มอลที่ความดันบรรยากาศen_US
dc.subjectแผ่นชีวภาพen_US
dc.subjectแคนดิดาอัลบิแคนส์en_US
dc.titleประสิทธิภาพการกำจัดแผ่นชีวภาพของราแคนดิดาอัลบิแคนส์ด้วยพลาสมาแบบนอน-เทอร์มอลที่ความดันบรรยากาศen_US
dc.title.alternativeEfficiency of Non-thermal Atmospheric Pressure Plasma on Killing Candida albicans Biofilmen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.