Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66961
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกนกวรรณ วลีรัตนวงศ์en_US
dc.contributor.authorวนิดา ธีรวัตรวาทินen_US
dc.date.accessioned2019-12-03T08:56:54Z-
dc.date.available2019-12-03T08:56:54Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationเชียงใหม่ทันตแพทยสาร 40,1 (ม.ค.-เม.ย. 2562) 127-137en_US
dc.identifier.issn0857-6920en_US
dc.identifier.urihttp://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2562_40_1_509.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66961-
dc.descriptionเชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคมen_US
dc.description.abstractอุบัติเหตุที่พบได้บ่อยภายในช่องปากคือการแตกหักและการบิ่นของฟัน นอกจากจะทําให้เกิดความเจ็บปวดกับผู้ป่วยแล้วยังส่งผลกระทบทางด้านจิตใจและการเข้าสังคมอีกด้วย ทางเลือกในการรักษาที่ได้รับความสนใจเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากในปัจจุบันมีการพัฒนาวัสดุยึดติดให้มีประสิทธิภาพสูงคือวิธีการยึดชิ้นส่วนฟันที่แตกหักกลับเข้าตําแหน่งเดิม (reattachment) ซึ่งเหมาะสําหรับผู้ป่วยที่ยังคงมีชิ้นส่วนฟันที่สมบูรณ์ เป็นเทคนิคการรักษาแบบอนุรักษ์ อีกทั้งยังมีความสวยงามและอัตราการสึกที่เหมือนฟันธรรมชาติ สามารถทําได้โดยใช้ระยะเวลาน้อย ในกรณีเร่งด่วนถือเป็นการรักษาชั่วคราวก่อนทําการรักษาหลัก ฟันที่ได้รับการรักษาด้วยวิธีนี้มักมีค่าความแข็งแรงในการยึดติดภายหลังการรักษาน้อย จากการทบทวนทางวรรณกรรมพบว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อการเพิ่มค่าความแข็งแรง ในการยึดติดของฟันที่ทําการยึดกลับเข้าตําแหน่งเดิมให้มีค่าใกล้เคียงฟันธรรมชาติ ได้แก่ การแก้ไขภาวะการณ์สูญเสียน้ําของชิ้นส่วนฟันภายหลังการแตกหัก เทคนิคการเตรียมฟันและการเลือกวัสดุยึดติด รายงานกรณีศึกษานี้ได้นําเสนอวิธีการรักษาผู้ป่วยที่ได้รับอุบัติเหตุฟันตัดซี่กลางบนขวาแตกหักที่มีชิ้นส่วนฟันสมบูรณ์ด้วยวิธีการยึดชิ้นส่วนฟันกลับเข้าตําแหน่งเดิมen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการแตกหักของตัวฟันen_US
dc.subjectการยึดชิ้นส่วนฟันที่แตกหักกลับเข้าตําแหน่งเดิมen_US
dc.subjectเทคนิคการเตรียมฟันen_US
dc.titleการบูรณะฟันหน้าบนที่หักโดยการยึดชิ้นส่วนฟันกลับเข้าตำแหน่งเดิม: รายงานผู้ป่วย 1 รายen_US
dc.title.alternativeRestorative Treatment by Reattachment of Anterior Tooth Fragments: A Case Reporten_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.