Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66951
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจักรพงษ์ ไชยวงศ์en_US
dc.contributor.authorสุนทร ค ายองen_US
dc.contributor.authorนิวัติ อนงค์รักษ์en_US
dc.contributor.authorประสิทธิ์ วังภคพัฒนวงศ์en_US
dc.contributor.authorสุภาพ ปารมีen_US
dc.date.accessioned2019-12-03T08:56:54Z-
dc.date.available2019-12-03T08:56:54Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารเกษตร 35, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2562), 475-486en_US
dc.identifier.issn0857-0841en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/217288/150729en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66951-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 1en_US
dc.description.abstractการศึกษาเปรียบเทียบคุณสมบัติทางฟิสิกส์ เคมี การกักเก็บคาร์บอนและธาตุอาหารในดิน ที่เกิดจากหินวัตถุต้นกำเนิดดินต่างกัน 2 ชนิด คือ หินภูเขาไฟและหินทรายในป่าเต็งรัง ของศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยใช้หลุมศึกษาลักษณะของดิน จำนวน 8 หลุม เก็บตัวอย่างดินตามระดับความลึก และนำไปวิเคราะห์คุณสมบัติทางกายภาพ และเคมีในห้องปฏิบัติการ จากผลการศึกษาพบลักษณะของดิน 2 กลุ่ม คือ ดินตื้น (ความลึก<40 ซม.) จัดอยู่ในอันดับ Inceptisols และดินลึก (ความลึก >100 ซม. ขึ้นไป) จัดอยู่ในอันดับ Ultisols และ Oxisols โดยที่ดินส่วนใหญ่มีปริมาณกรวดปนมากและมีความหนาแน่นต่ำยกเว้น ดินในอันดับ Oxisols โดยทั่วไปลักษณะของเนื้อดินหยาบถึงปานกลางในดินบน และปานกลางถึงละเอียดในดินล่าง ค่าปฏิกิริยาดินของดินที่เกิดจากหินทรายจะมีค่าต่ำกว่าดินที่เกิดจากหินภูเขาไฟ ปริมาณอินทรียวัตถุ คาร์บอน และไนโตรเจนทั้งหมดในดิน มีค่าสูงในดินบน และลดลงในดินล่าง ปริมาณของฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ และแคตไออนที่สกัดได้ (โพแทสเซียม แคลเซียม และแมกนีเซียม) มีค่าต่ำมากตลอดช่วงความลึกของดิน โดยที่ปริมาณอินทรียวัตถุ คาร์บอน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และแคตไอออนที่สกัดได้ทั้งในดินตื้นและดินลึกบนหินภูเขาไฟมีค่าสูงกว่าหินทราย ซึ่งดินป่าเต็งรังที่เกิดจากหินทั้ง 2 ชนิดนี้ มีคุณสมบัติทางกายภาพและเคมี และการและความสามารถในการกักเก็บคาร์บอนและธาตุอาหารที่ต่างกัน ซึ่งเป็นปัจจัยมีผลต่อการเจริญเติบโต ผลผลิต และความหลากหลายของชนิดพืชในพื้นที่en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectคาร์บอนen_US
dc.subjectป่าเต็งรังen_US
dc.subjectธาตุอาหารen_US
dc.subjectหินวัตถุต้นกำเนิดen_US
dc.subjectคุณสมบัติของดินen_US
dc.titleคุณสมบัติทางกายภาพเคมีและการกักเก็บคาร์บอนและธาตุอาหาร ในดินที่เกิดจากหินภูเขาไฟและหินทรายในป่าเต็งรังที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชดาริจังหวัดเชียงใหมen_US
dc.title.alternativePhysicochemical Properties and Carbonand Nutrient Storages of Soils Derived from Volcanic Rock and Sandstone in Dry Dipterocarp Forest at Huai Hong Khrai Royal Development Study Center, Chiang Mai Provinceen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.