Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66908
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ปฐมพงศ์ มโนหาญ | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-12-03T06:32:24Z | - |
dc.date.available | 2019-12-03T06:32:24Z | - |
dc.date.issued | 2562 | en_US |
dc.identifier.citation | นิติสังคมศาสตร์ 11, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2562), 125-155 | en_US |
dc.identifier.issn | 2586-9604 | en_US |
dc.identifier.uri | https://www.tci-thaijo.org/index.php/CMUJLSS/article/view/109890/97419 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66908 | - |
dc.description | CMU Journal of Law and Social Sciences รับพิจารณาบทความวิชาการ และบทปริทัศน์ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยขอบเขตเนื้อหาทางวิชาการของCMU Journal of Law and Social Sciences จะครอบคลุมเนื้่อหา เกี่ยวกับกฎหมายทุกสาขา เช่น กฎหมายมหาชน กฎหมายเอกชน กฎหมายอาญา กฎหมายระหว่างประเทศ เป็นต้น ซึ่งสัมพันธ์กับความรู้ทางด้านสังคมศาสตร์ในสาขาต่างๆ | en_US |
dc.description.abstract | บทความชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายกระบวนการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ชายแดนสมัยใหม่ที่เปลี่ยนจากพื้นที่เฝ้าระวังภัยเพื่อความมั่นคงกลายเป็นพื้นที่ทางเศรษฐกิจภายใต้บริบทของเสรีนิยมใหม่ ซึ่งบทความชิ้นนี้มีฐานมาจากงานวิจัย 2 เรื่อง คือ 1.นโยบายการพัฒนาของรัฐกับผลกระทบต่อผู้ประกอบการรายย่อยในพื้นที่ชายแดน: กรณีศึกษาผลของการเปิดสะพานแห่งที่ 4 ต่อธุรกิจเกสต์เฮาส์ที่เชียงของ และ 2.การเปลี่ยนแปลงขององค์กรธุรกิจเอกชนข้ามชาติในกระแสความเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ชายแดน: ปรากฎการณ์เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษเชียงราย โดยใช้วิธีพินิจทางประวัติศาสตร์มาการอธิบายว่าพื้นที่ชายแดนเปลี่ยนแปลงไปสู่พื้นที่ทางเศรษฐกิจได้อย่างไร ซึ่งในช่วงเริ่มแรกรัฐไทยมีการออกแบบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติโดยได้รับการปรึกษาจากธนาคารโลกในยุคของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ และหลังจากนั้นก็ได้มีการออก พ.ร.บ.ส่งเสริมการลงทุนรวมถึงการตั้งคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ออกกฎหมายและนโยบายต่างๆ สนับการลงทุนเช่นการประกาศนิคมอุตสาหกรรมในทศวรรษ 2520 เป็นต้นมาจนถึง 2560 ประเทศไทยมีการประกาศเขตนิคมอุตสาหกรรมเกือบ 60 ครั้ง แต่มาตรการเหล่านั้นไม่ได้สนับสนุนให้การเคลื่อนย้ายทุนในแบบของการข้ามแดน หลังจากสิ้นสุดสงครามเย็นในทศวรรษ 2530 จีนก็ได้กลายมาเป็นตัวแบบของการพัฒนาเขตยกเว้นเพื่อการลงทุน รวมถึงแผ่อิทธิพลทางเศรษฐกิจลงมายังอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง จังหวัดเชียงรายซึ่งเป็นจังหวัดชายแดนได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์ทางเศรษฐกิจดังกล่าว อีกทั้งยังได้ถูกจัดอยู่ในเขตสนับสนุนของคณ/*ะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ในช่วงทศวรรษ 2550 จังหวัดเชียงรายได้กลายเป็นเป้าหมายในการลงทุนของนิติบุคคลร่วมทุนสัญชาติจีน ข้อกำหนดทางกฎหมายและนโยบายส่งเสริมการลงทุนตั้งแต่ทศวรรษ 2500 ถึง 2550 และการกลายเป็นอนุภูมิภาคทำให้พื้นที่ชายแดนจังหวัดเชียงรายกลายเป็นพื้นที่ทางเศรษฐกิจโดยเชื่อมต่อกับประเทศจีนตอนใต้ด้วยเส้นทาง R3A และ R3B ด้วยผลการกลายเป็นพื้นที่ทางเศรษฐกิจของพื้นที่ชายแดนยังก่อให้เกิดความขัดแย้งภายในพื้นที่ระหว่างท้องถิ่น รัฐ และทุน | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | พื้นที่ชายแดน | en_US |
dc.subject | เศรษฐกิจชายแดน | en_US |
dc.subject | กฎหมายและนโยบายส่งเสริมการลงทุน | en_US |
dc.subject | มิติประวัติศาสตร์ | en_US |
dc.title | กระบวนการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ชายแดนจังหวัดเชียงรายให้กลายเป็นพื้นที่ทางเศรษฐกิจ: มองผ่านกฎหมายและนโยบายเพื่อส่งเสริมการลงทุนในมิติประวัติศาสตร์ | en_US |
dc.title.alternative | Transformation of Chiang Rai’sborderland to be Economic Zone: Study of Law and Investment Promotion Policies in Term of Historical Approach | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.