Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66892
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวิทย์ธพงษ์ เปี้ยวงค์en_US
dc.contributor.authorปุณเรศวร์ รัตนประดิษฐ์en_US
dc.contributor.authorสัญชัย จตุรสิทธาen_US
dc.contributor.authorทัศนีย์ อภิชาติสรางกูรen_US
dc.contributor.authorดำเนิน กาละดีen_US
dc.contributor.authorพันทิพา พงษ์เพียจันทร์en_US
dc.date.accessioned2019-12-03T06:32:23Z-
dc.date.available2019-12-03T06:32:23Z-
dc.date.issued2554en_US
dc.identifier.citationวารสารเกษตร 27, 2 (มิ.ย. 2554),101-112en_US
dc.identifier.issn0857-0847en_US
dc.identifier.urihttp://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00113_C00820.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66892-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 1en_US
dc.description.abstractใช้สุกรลูกผสม 3 สายพันธุ์ (ลาร์จไวท์×แลนด์เรซ×ดูร็อค) จำนวน 30 ตัว น้ำหนักเฉลี่ย 30 กิโลกรัม แบ่งเป็น 3 กลุ่มการทดลอง กลุ่มละ 10 ตัว วางแผนการทดลองแบบสุ่มตลอด (completely randomized design, CRD) ให้สุกรได้รับอาหารที่มีแหล่งพลังงานต่างกันอย่างเต็มที่ คือ กลุ่มที่ 1 หรือกลุ่มควบคุม ได้รับอาหารพื้นฐาน โดยมีข้าวโพดและมันเส้นเป็นหลัก กลุ่มที่ 2 และ 3 ได้รับปลายข้าวขาวและปลายข้าวเหนียวก่ำเป็นแหล่งพลังงาน ตามลำดับ ทำการเลี้ยงจนถึงน้ำหนักตัว 100 กิโลกรัม พบว่า สุกรกลุ่มที่ 3 มีแนวโน้มกินอาหารได้มากกว่าและมีอัตราการเจริญเติบโตดีกว่าอีก 2 กลุ่ม แต่ความแตกต่างไม่มีนัยสำคัญ (P>0.05) ผลการวิเคราะห์พลาสมาในเลือดของสุกร พบว่า เมื่อสุกรมีอายุเพิ่มขึ้นจะมีปริมาณ คอเลสเตอรอล ไตรกลีเซอไรด์ HDL และ VLDL สูงขึ้น ส่วนการเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มการทดลอง เมื่อสุกรมีน้ำหนักตัว 79 กิโลกรัม ปริมาณคอเลสเตอรอลและ LDL ในกลุ่มที่ 3 มีค่าต่ำกว่าอีก 2 กลุ่ม อย่างมีนัยสำคัญ (P<0.005 และ P<0.03) ด้านคุณภาพซาก พบว่า สุกรกลุ่มที่ 3 มีแนวโน้มของน้ำหนักที่เข้าฆ่าสูงกว่ากลุ่มที่ 1 และมีแนวโน้มน้ำหนักซากอุ่นดีกว่าอีก 2 กลุ่ม (P>0.05) การตัดแต่งซากแบบไทยพบว่าไม่มีความแตกต่างกัน (P>0.05) ส่วนคุณภาพซากที่ตัดแต่งแบบสากล พบว่า สุกรกลุ่มที่ 3 มีเปอร์เซ็นต์เนื้อสันนอกสูงกว่ากลุ่มที่ 2 อย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) ในขณะที่กลุ่มที่ 2 มีเปอร์เซ็นต์ซี่โครงสูงที่สุด (P<0.05)en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectข้าวเหนียวก่ำen_US
dc.subjectสมรรถภาพการผลิตen_US
dc.subjectคุณภาพซากen_US
dc.subjectคอเลสเตอรอลen_US
dc.titleผลของข้าวเหนียวก่ำต่อสมรรถภาพการผลิตปริมาณคอเลสเตอรอลในพลาสมาและคุณภาพซากของสุกรรุ่น-ขุนen_US
dc.title.alternativeEffects of Glutinous Purple Rice (Oryza sativa L.) on Performance, Plasma Cholesterol and Carcass Quality of Growing-Finishing Pigsen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.