Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66876
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนฤมล โสตะen_US
dc.contributor.authorโสระยา ร่วมรังษีen_US
dc.contributor.authorฉันทนา สุวรรณธาดาen_US
dc.date.accessioned2019-12-03T06:31:24Z-
dc.date.available2019-12-03T06:31:24Z-
dc.date.issued2554en_US
dc.identifier.citationวารสารเกษตร 27, 2 (มิ.ย. 2554), 187-196en_US
dc.identifier.issn0857-0841en_US
dc.identifier.urihttp://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00113_C00829.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66876-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 1en_US
dc.description.abstractว่านจูงนางชนิด Geodorum recurvum (Roxb.) Alston เป็นกล้วยไม้ดินชนิดหนึ่ง มีลำลูกกล้วยเป็นหัวอยู่ใต้ผิวดิน โครงสร้างของหัวของว่านจูงนางชนิดนี้เป็นแบบหัวเผือก หัวว่านจูงนางแตกต่างจากหัวของกล้วยไม้ดินทั่วไป เนื่องจากหัวเก่าซึ่งเกิดในปีก่อนๆมักจะผุสลายแต่สามารถพบติดกันอยู่และเรียงเป็นแถวในลักษณะเจริญด้านข้าง การสังเกตพฤติกรรมการเติบโตของหัวของว่านจูงนางชนิดนี้ มีจุดประสงค์เพื่อทราบข้อมูลของความเป็นไปได้ในการแยกหัวเก่าของต้นพืชไปปลูกเพื่อขยายพันธุ์ ผลการศึกษาพบว่า หัวเก่าซึ่งติดอยู่กับต้นพืชแต่ละต้นนั้นเกือบทุกหัวยังคงมีชีวิตอยู่ หัวเก่าที่เกิดขึ้นนานถึง 10 ปี เมื่อนำมาแยกออกเป็นหัวเดี่ยว แล้วปลูกสามารถเจริญเติบโตเป็นต้นใหม่ได้ หัวบางหัวที่ฝ่อไปก่อนแล้วเท่านั้นที่ไม่สามารถงอกได้ หัวแยกเดี่ยวเหล่านี้งอกหน่อออกมาได้ 1 หน่อหรือมากกว่า แต่ละหน่อเจริญเติบโตเป็นต้นพืช 1 ต้นและสร้างหัวใหม่ขึ้นมาได้ ผลการศึกษาจึงสรุปได้ว่าหัวเก่าค้างปีของว่านจูงนางมีแนวโน้มใช้เป็นส่วนขยายพันธุ์เพื่อเพิ่มปริมาณต้นพืชได้าผลของสารประกอบแคลเซียมร่วมกับสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชต่อคุณภาพผลของสตรอว์-เบอร์รีพันธุ์พระราชทาน 80 ทำการทดลอง ณ แปลงสตรอว์เบอร์รีของเกษตรกร หมู่บ้านแม่สาใหม่ อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ วางแผนการทดลองแบบ Factorial (3x3x3)+1 in RCBD ปัจจัยแรกคือ ระยะการพ่นสาร 3 ระยะ ได้แก่ 1) ระยะหลังดอกบานเต็มที่ 2) ระยะ 14 วันหลังดอกบานเต็มที่ และ 3) ระยะ 21 วันหลังดอกบานเต็มที่ ปัจจัยที่ 2 คือ ชนิดสารประกอบแคลเซียม 3 ชนิด ได้แก่ 1) CaCl2, 2) Ca(NO3)2 และ 3) Ca2+chelated ความเข้มข้น 200 มก./ล. ปัจจัยที่ 3 คือ ชนิดสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช 3 ชนิด ได้แก่ 1) GA3 50 มก./ล., 2) CPPU 10 มก./ล. และ 3) NAA 50 มก./ล. เปรียบเทียบกับการพ่นน้ำกลั่น ผลการทดลองพบว่า การพ่น Ca2+chelated ร่วมกับ NAA ที่ระยะ 21 วันหลังดอกบานเต็มที่ ให้น้ำหนักและขนาดของผลมากกว่ากรรมวิธีควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และมีแนวโน้มของน้ำหนักผล และขนาดผลมากกว่ากรรมวิธีอื่น ๆ ในขณะที่การพ่นสารในระยะดอกบานเต็มที่พบว่าการพ่นสารประกอบแคลเซียมทุกชนิดร่วมกับ CPPU และ NAA ทำให้มีปริมาณของแข็งที่ละลายน้ำได้ (TSS) มากกว่ากรรมวิธีควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และมีแนวโน้มให้ค่า TSS มากกว่ากรรมวิธีอื่น ๆ และการพ่น Ca2+chelated ร่วมกับสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชทั้ง 3 ชนิด สามารถเพิ่มความแน่นเนื้อได้ นอกจากนี้การพ่น CaCl2 และ Ca2+chelated ร่วมกับ NAA สามารถยืดอายุการเก็บรักษาของผลสตรอว์เบอร์รีได้เมื่อเปรียบเทียบกับกรรมวิธีควบคุมen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectว่านจูงนางen_US
dc.subjectหัวen_US
dc.subjectการเติบโตen_US
dc.titleการสังเกตพฤติกรรมการเติบโตของหัวว่านจูงนางชนิด Geodorum recurvum (Roxb.) Alston ในสภาพธรรมชาติและสภาพปลูกเลี้ยงเพื่องานขยายพันธุ์en_US
dc.title.alternativeObservation on Growth Behaviour of Geodorum recurvum (Roxb.) Alston Pseudobulbs in Nature and in Cultivated Condition for Propagationen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.