Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66779
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอารุณี ลอยมา"en_US
dc.contributor.authorจุฑาทิพย์ เฉลิมผลen_US
dc.contributor.authorรุจ ศิริสัญลักษณ์en_US
dc.contributor.authorผทัยรัตน์ ภาสน์พิพัฒน์กุลen_US
dc.date.accessioned2019-09-17T08:55:03Z-
dc.date.available2019-09-17T08:55:03Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารเกษตร 35, 2 (พ.ค. 2562), 333-341en_US
dc.identifier.issn0857-0842en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/189765/132906en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66779-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 1en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพการได้รับสวัสดิการของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร 2) ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรต่อสวัสดิการของหน่วยงาน 3) ปัญหา อุปสรรค และ ข้อจำกัดในการทำงานภายใต้การสนับสนุนสวัสดิการของหน่วยงาน ประชากรเป้าหมาย คือ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร 8 จังหวัดในภาคเหนือตอนบน ได้แก่ เชียงใหม่ เชียงราย ลำพูน ลำปาง แพร่ น่าน พะเยา แม่ฮ่องสอน จำนวนทั้งหมด 589 คน ซึ่งทำการสุ่มตัวอย่างมาจำนวน 238 ราย ผลการศึกษา พบว่า สภาพการได้รับสวัสดิการของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรส่วนใหญ่มีความรู้ความเข้าในใจ ในสิทธิการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลเป็นอย่างดี จากผลการวิจัยพบว่า คิดเป็นร้อยละ 95.38 เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรมีความรู้ในเรื่องสิทธิ์การเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล สวัสดิการสิทธิ์การเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลเป็นสวัสดิการพื้นฐานที่ทุกหน่วยงานกำหนดขึ้น แต่ยังมีเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร คิดเป็นร้อยละ 5.56 ที่ไม่แน่ใจในการได้รับสวัสดิการด้านต่าง ๆ จากหน่วยงาน การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ พบว่าเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรที่เข้าร่วมโครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตข้าราชการพลเรือนสามัญกับธนาคารออมสินมีแนวโน้มพึงพอใจต่อสวัสดิการมากขึ้นร้อยละ 18.03 เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรที่มีภาระหนี้สินกับสหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการเกษตร เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรที่จบสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารมีแนวโน้มมีความพึงพอใจในสวัสดิการมากขึ้น ร้อยละ 27.46 เมื่อเทียบกับ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรที่จบในด้านสาขาวิชาอื่น ๆ ด้านปัญหาและอุปสรรคของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรในการสนับสนุนสวัสดิการจากหน่วยงาน พบว่า งบประมาณสนับสนุนในการดำเนินงานแต่ละโครงการ เช่น ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางไปปฏิบัติราชการไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร ซึ่งเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรได้เสนอว่าควรมีการเพิ่มงบประมาณในการออกพื้นที่และเพิ่มยานพาหนะที่ใช้ในการเดินทางที่มีอย่างจำกัดเพื่อให้การทำงานเป็นไปอย่างคล่องตัวและมีประสิทธิภาพen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectปัจจัยen_US
dc.subjectความพึงพอใจen_US
dc.subjectสวัสดิการen_US
dc.subjectเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรen_US
dc.subjectภาคเหนือตอนบนen_US
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในสวัสดิการของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeFactor Affecting Satisfaction on Fringe Benefits of Agricultural Extension Officers in Upper North of Thailanden_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.