Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66778
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพฤฒิพงศ์ พฤฒิกัลป์"en_US
dc.contributor.authorคมกฤต เล็กสกุลen_US
dc.date.accessioned2019-09-17T08:55:03Z-
dc.date.available2019-09-17T08:55:03Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 26, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2562), 15-27en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/26_2/02.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66778-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการสังเคราะห์อนุมูลไฮดรอกซิลในรูปน้ำพลาสมาด้วยระบบพลาสมาไกลดิงอาร์กโดยเบื้องต้นได้ทดลองสร้างสภาวะพลาสมา แล้วทำการวัดแสงพลาสมาด้วยเครื่องออพติคัลอิมิสชันสเปกโทรมิเตอร์เพื่อยืนยันการเกิดอนุมูลไฮดรอกซิลจากนั้นจึงทดลองเปรียบเทียบการใช้น้ำกลั่นและไมโครบับเบิ้ลเป็นวัตถุดิบ ในการสังเคราะห์อนุมูลไฮดรอกซิลรวมถึงศึกษาพฤติกรรมการคงอยู่ของอนุมูลไฮดรอกซิลในรูปไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ ท้ายสุดศึกษาหาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการสังเคราะห์อนุมูลไฮดรอกซิลโดยใช้แผนการทดลองแบบแฟกทอเรียล เชิงเศษส่วน ผลการวัดแสงพลาสมาพบว่า มีค่าพีคที่ความยาวคลื่น 310 nm เกิดขึ้นสูง หมายถึงระบบพลาสมาไกลดิงอาร์ก สามารถสังเคราะห์อนุมูลไฮดรอกซิลได้และพบวา่การใช้ไมโครบับเบิ้ลเป็นวัตถุดิบสามารถสงัเคราะห์อนุมูลไฮดรอกซิลได้ ดีกว่าน้ำกลั่น โดยการคงอยู่ของอนุมูลไฮดรอกซิลในรูปไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์มีแนวโน้มว่าความเข้มข้นลดลงตามเวลา ซึ่งปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการสังเคราะห์อนุมูลไฮดรอกซิลมีนัยสำคัญ มีทั้งหมด 4 ปัจจัย ได้แก่ ปริมาณโซเดียม ไบคาร์บอเนต ระยะห่างระหว่างขั้วไฟฟ้าอัตราการจ่ายก๊าซอาร์กอน และอัตราส่วนการผสมก๊าซออกซิเจนen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectอนุมูลไฮดรอกซิลen_US
dc.subjectระบบพลาสมาไกลดิงอาร์กen_US
dc.subjectน้ำพลาสมาen_US
dc.subjectไมโครบับเบิ้ลen_US
dc.titleการสังเคราะห์อนุมูลไฮดรอกซิลในน้ำพลาสมาด้วยระบบพลาสมาไกลดิงอาร์กen_US
dc.title.alternativeSynthesis of Hydroxyl Radical in Plasma-activated Water by Gliding Arc Plasmaen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.