Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66763
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกนกวรรณ ละออออง"en_US
dc.contributor.authorสุภาภรณ์ ญะเมืองมอญen_US
dc.contributor.authorสุชาดา จำรัสen_US
dc.contributor.authorจีราภรณ์ วีระดิษฐกิจen_US
dc.contributor.authorชนากานต์ เทโบลต์ พรมอุทัยen_US
dc.date.accessioned2019-09-17T08:55:03Z-
dc.date.available2019-09-17T08:55:03Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารเกษตร 35, 2 (พ.ค. 2562), 205-213en_US
dc.identifier.issn0857-0842en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/189074/132749en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66763-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 1en_US
dc.description.abstractดาวอินคากำลังได้รับความสนใจนำมาปลูกอย่างแพร่หลายในกลุ่มเกษตรกรหลายพื้นที่ในประเทศไทย เนื่องจากผลผลิตที่ให้ผลตอบแทนสูงอย่างต่อเนื่องและมีคุณค่าทางโภชนาการที่สามารถนำไปใช้ในการลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคสำคัญหลายชนิด เช่น โรคไขมันและเบาหวาน เป็นต้น จึงเป็นที่ต้องการในกลุ่มผู้บริโภคที่รักสุขภาพเป็นอย่างมาก การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความแปรปรวนของผลผลิตและคุณภาพทางโภชนาการในเมล็ดของดาวอินคาที่ให้ผลผลิตในฤดูกาลที่แตกต่างกัน โดยวางแผนการทดลองแบบ completely randomize design (CRD)เก็บผลผลิตใน 3 ฤดู ฤดูกาลละ 10 ต้น โดยปลูกดาวอินคาทั้งหมด 30 ต้น ระยะปลูกเท่ากับ 2x2 เมตร เก็บผลผลิตฝักของดาวอินคา 3 ฤดูกาลที่แตกต่างกันคือฤดูแล้ง ฤดูฝน และฤดูปลายฝน ผลการทดลองพบว่าในฤดูแล้งและปลายฝนให้ผลผลิตน้ำหนักแห้งฝักและเมล็ดสูงที่สุด โดยมีน้ำหนักแห้งฝักและเมล็ดมากว่าในฤดูฝน 20.3% และ 20.0% ตามลำดับ ส่วนการติดเมล็ดพบว่าฤดูปลายฝนมีการติดเมล็ดมากกว่าในฤดูฝนและฤดูแล้ง 4.2% และปริมาณน้ำมันพบว่าในฤดูปลายฝนจะมีปริมาณน้ำมันมากกว่าฤดูแล้งและฤดูฝน 6.7% เช่นเดียวกับปริมาณกรดไขมันที่พบว่าในฤดูหนาวมีปริมาณกรดไขมันชนิดต่าง ๆ สูงกว่าฤดูแล้งและฤดูฝน การทดลองนี้บ่งชี้ว่าฤดูกาลผลิตมีผลต่อผลผลิตและคุณค่าทางโภชนาการในเมล็ดดาวอินคา ซึ่งข้อมูลจากการทดลองนี้เป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการจัดการในการปลูกดาวอินคาเพื่อให้ได้ผลผลิตและคูณค่าทางโภชนาการสูงที่สุด อย่างไรก็ตาม การเพิ่มสถานที่ในการปลูกเพื่อวัดอิทธิพลของสภาพอากาศในแต่ละฤดูกาลและสถานที่ปลูกต่อผลผลิตและคุณค่าทางโภชนาการของดาวอินคาควรจะมีการศึกษาเพื่อการยืนยันผลการทดลองต่อไปในอนาคตen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectดาวอินคาen_US
dc.subjectกรดไขมันen_US
dc.subjectคุณภาพเมล็ดen_US
dc.subjectฤดูกาลen_US
dc.subjectอาหารสุขภาพen_US
dc.titleผลของฤดูกาลต่อผลผลิตและคุณภาพเมล็ดดาวอินคาen_US
dc.title.alternativeSeasonal Effects on Seed Yield and Quality of Sacha Inchien_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.