Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66536
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปลายฟ้า นามไพรen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:30Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:30Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 31, 1 (ม.ค.-มิ.ย 2562), 110-143en_US
dc.identifier.issn2672-9563en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/jss/article/view/169465/139388en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66536-
dc.descriptionวารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ดำเนินการมานับตั้งแต่ปี พ.ศ.2513 มีบรรณาธิการและกองบรรณาธิการ ที่ทำงานร่วมกันทั้งที่มาจากคณาจารย์ในคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และอาจารย์นักวิชาการภายนอก จากมหาวิทยาลัยชั้นนำทางด้านสังคมศาสตร์ของประเทศไทย วารสารสังคมศาสตร์ จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์สำคัญคือเพื่อเผยแพร่บทความวิชาการ หรืองานวิจัยทางสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะทางด้านมานุษยวิทยา การศึกษาการพัฒนาทางด้านภูมิศาสตร์ สังคมวิทยา และสตรีศึกษา ที่มีคุณภาพสู่สังคมวงกว้าง ต่อมาในปี 2561 วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้เริ่มจัดทำวารสารในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online)en_US
dc.description.abstractบทความนี้มุ่งสนใจศึกษา กระบวนการเข้าสู่พื้นที่สนามฟุตบอลไทย ตลอดจนประสบการณ์ ความหมาย และปฏิบัติการทางสังคม ของกลุ่มแฟนบอลหญิง หรือกลุ่มแฟนบอลที่ติดตามชมเชียร์การแข่งขันฟุตบอลอย่างจริงจัง ผ่านการบริโภค สร้างวัฒนธรรมแฟน และการรวมตัวกันทั้งในสนามแข่งขันและนอกสนาม สร้างพื้นที่ทางสังคมผ่านเครือข่ายการสื่อสารในสังคมออนไลน์ ทั้งนี้เพื่อศึกษาทำความเข้าใจ กระบวนการเข้าสู่พื้นที่ สนามฟุตบอลไทยลีก ผลการศึกษาพบว่า ผู้หญิงกลุ่มแฟนบอลหญิง เข้าสู่พื้นที่สนามฟุตบอลในฐานะผู้บริโภค พวกเธอได้สร้างพื้นที่ผ่านการทำงาน การดำเนินกิจกรรมร่วมกัน แฟนบอลหญิงนั้นเกิดขึ้นภายใต้โครงสร้างการครอบงำ ที่ทำให้พวกเธอตกอยู่ภายใต้สภาวะ คนชั้นสอง ในพื้นที่สนามฟุตบอล อย่างไรก็ตามในบริบทของการสถาปนาอำนาจความเป็นชายในสนามฟุตบอล กลุ่มแฟนบอลหญิง ที่เข้าสู่พื้นที่สนามฟุตบอล ก็มีแนวทางของการบริโภคเกมการแข่งขันที่แตกต่างออกไปจากแฟนบอลชาย กระทั่งกล่าวได้ว่าได้สร้าง วัฒนธรรมแฟนบอลหญิงขึ้นมา นอกจากกลุ่มจะสร้างเครือข่ายความสัมพันธ์ พื้นที่ในสังคมออนไลน์ ด้วยการให้ความช่วยเหลือกันและกัน พวกเธอยังสร้างพื้นที่ต่อรองขึ้นใหม่ อันเป็น ชุมชนปฏิบัติการ ที่เสริมสร้างอำนาจให้กับพวกเธอen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectแฟนบอลหญิงen_US
dc.subjectสนามฟุตบอลไทยลีกen_US
dc.subjectชุมชนปฏิบัติการen_US
dc.titleแฟนบอลหญิง: การบริโภค ก่อร่างสร้าง ชุมชนของผู้หญิงในพื้นที่ฟุตบอลไทยen_US
dc.title.alternativeFemale Football Fans: Consumption, Identity Formation of \Women's Community\ in Thai Football Fielden_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.