Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66533
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอรรคณัฐ วันทนะสมบัติen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:30Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:30Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.citationวารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 30, 2 (ก.ค.-ธ.ค 2561), 15-51en_US
dc.identifier.issn2672-9563en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/jss/article/view/163392/118122en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66533-
dc.descriptionวารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ดำเนินการมานับตั้งแต่ปี พ.ศ.2513 มีบรรณาธิการและกองบรรณาธิการ ที่ทำงานร่วมกันทั้งที่มาจากคณาจารย์ในคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และอาจารย์นักวิชาการภายนอก จากมหาวิทยาลัยชั้นนำทางด้านสังคมศาสตร์ของประเทศไทย วารสารสังคมศาสตร์ จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์สำคัญคือเพื่อเผยแพร่บทความวิชาการ หรืองานวิจัยทางสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะทางด้านมานุษยวิทยา การศึกษาการพัฒนาทางด้านภูมิศาสตร์ สังคมวิทยา และสตรีศึกษา ที่มีคุณภาพสู่สังคมวงกว้าง ต่อมาในปี 2561 วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้เริ่มจัดทำวารสารในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online)en_US
dc.description.abstractการค้าชายแดนระหว่างประเทศเป็นกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นทั่วไปสําหรับประเทศที่มีอาณาเขตติดกัน ประเทศไทยมีการค้าทางชายแดนกับประเทศเพื่อนบ้านซึ่งการค้าชายแดนระหว่างประเทศมีรูปแบบที่แตกต่างกันไปตามบริบทของประเทศคู่ค้า อย่างไรก็ตามการค้าชายแดนระหว่างประเทศไทยกับประเทศเมียนมา มีความแตกต่างออกไปตรงที่บริบทการค้าชายแดนมีความเชื่อมโยงกับบริบททางการเมืองภายในของแต่ละประเทศ ทั้งยังมีความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา ข้อเสนอหลักของบทความนี้คือ รูปแบบการค้าชายแดนระหว่างไทยกับเมียนมา จากอดีตจนถึงปัจจุบันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองทั้งสิ้นบทความนี้ได้ชี้ให้เห็นถึงพลวัตของการค้า การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการค้าชายแดนที่แม่สอด ซึ่งเชื่อมโยงอย่างแยกไม่ออกกับบริบททางการเมือง โดยแบ่งเป็นช่วงเวลาต่างๆ ตามบริบททางการเมืองภายในของแต่ละประเทศนับจากอดีตซึ่งโดยมากจะเป็นผลจากการเมืองภายในของเมียนมาเสียเป็นส่วนใหญ่ บทความนี้ ยังเสนอว่านโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก อันเป็นผลสืบเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในประเทศไทยเมื่อรัฐบาลทหารขึ้นสู่อํานาจด้วยการรัฐประหาร ก็ส่งผลต่อรูปแบบการค้าชายแดนด้วย และนโยบายดังกล่าวมิได้ถือกําเนิดบนฐานคิดเรื่องเศรษฐกิจเป็นหลัก หากแต่มีแนวคิดเรื่องความมั่นคงเป็นหนึ่งในเหตุผลด้วยen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการค้าชายแดนไทย-เมียนมาen_US
dc.subjectการค้านอกระบบen_US
dc.subjectเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตากen_US
dc.titleพลวัตทางการเมืองกับการค้าชายแดนไทย-เมียนมาที่แม่สอดจากยุคตลาดมืดถึงเขตเศรษฐกิจพิเศษen_US
dc.title.alternativePolitical Dynamism and the Thailand-Myanmar Border Trade in Mae Sot: From Black Market Era to the SEZen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.