Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66531
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพฤกษ์ เถาถวิลen_US
dc.contributor.authorเนตรดาว เถาถวิลen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:30Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:30Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.citationวารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 30, 2 (ก.ค.-ธ.ค 2561), 53-96en_US
dc.identifier.issn2672-9563en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/jss/article/view/163408/118134en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66531-
dc.descriptionวารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ดำเนินการมานับตั้งแต่ปี พ.ศ.2513 มีบรรณาธิการและกองบรรณาธิการ ที่ทำงานร่วมกันทั้งที่มาจากคณาจารย์ในคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และอาจารย์นักวิชาการภายนอก จากมหาวิทยาลัยชั้นนำทางด้านสังคมศาสตร์ของประเทศไทย วารสารสังคมศาสตร์ จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์สำคัญคือเพื่อเผยแพร่บทความวิชาการ หรืองานวิจัยทางสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะทางด้านมานุษยวิทยา การศึกษาการพัฒนาทางด้านภูมิศาสตร์ สังคมวิทยา และสตรีศึกษา ที่มีคุณภาพสู่สังคมวงกว้าง ต่อมาในปี 2561 วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้เริ่มจัดทำวารสารในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online)en_US
dc.description.abstractการค้าชายแดนนอกระบบ เป็นสิ่งที่รัฐเห็นว่าเป็น เศรษฐกิจที่บ่อนทําลายระเบียบการปกครองของรัฐ (subversive economy) รัฐจึงแสดงทาทีอย่างขึงขังจริงจังที่จะขจัดการค้าชายแดนนอกระบบให้หมดไป กระนั้นก็ดี การค้าชายแดนนอกระบบยังคงเกิดขึ้นอย่างแพร่หลาย บทความนี้ตั้งคําถามกับการแบ่งแยกระหว่าง การค้าชายแดน ในระบบ และ นอกระบบ ว่าทําได้จริงหรือ และรัฐ ต้องการจะขจัดสิ่งที่เรียกว่าการค้าชายแดนนอกระบบให้หมดไปจริงหรือไม่บทความวิจัยนี้นําเสนอกรณีศึกษาพื้นที่ชายแดนไทย-ลาว ด้านจังหวัดอุบลราชธานีโดยแสดงให้เห็น พลวัตการค้าชายแดนจากอดีตถึงปัจจุบัน การอภิปรายเนื้อหาอาศัยกรอบแนวคิดเรื่องพื้นที่ชายแดน (borderland) ซึ่งเป็นการมองความเปลี่ยนแปลงที่ชายแดนอย่างเป็นวิภาษวิธี ระหว่างอํานาจจากรัฐส่วนกลางกับอํานาจจากท้องถิ่น บทความเสนอว่าการค้าชายแดนมีพลวัตและความกํากวมอย่างสูง ดังเห็นได้จากปฏิบัติการทางการค้าของผู้ค้าชายแดนที่ทําให้การค้าการค้าชายแดนกับความมั่นคงของมนุษย์ ชายแดน ในระบบ และ นอกระบบ เกิดขึ้นโดยแบงจากกันได้ยาก และเป็นการค้าที่หนุนเนื่องผสมผสานกัน (intertwine) บทความได้ชี้ให้เห็นปัญหาการนิยามการค้าชายแดนของรัฐ ที่ลดทอนความซับซ้อน และมองการค้าชายแดนในลักษณะหยุดนิ่ง รวมทั้งแสดงให้เห็นข้อจํากัดของวิธีคิดที่มีทัศนะแบบยึดรัฐชาติเป็นศูนย์กลาง และเป็นอุปสรรคต่อการทําความเข้าใจพลวัตและความซับซ้อนของการค้าชายแดนen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการค้าชายแดนen_US
dc.subjectการค้านอกระบบen_US
dc.subjectเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตากen_US
dc.subjectความมั่นคงแห่งชาติen_US
dc.titleในระบบ หรือ นอกระบบ: พลวัตและความกำากวมของการค้าชายแดนในพื้นที่ชายแดนไทย-ลาวen_US
dc.title.alternativeLegal or Illegal: Dynamic and Ambiguous Border Trade in the Borderland of Thai-Lao PDRen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.