Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66512
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ฐิฏาพร สุภาษี | en_US |
dc.contributor.author | พานิช อินต๊ะ | en_US |
dc.contributor.author | เศรษฐ์ สัมภัตตะกุล | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-08-21T09:18:29Z | - |
dc.date.available | 2019-08-21T09:18:29Z | - |
dc.date.issued | 2559 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ 23, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2559), 94-105 | en_US |
dc.identifier.issn | 2672-9695 | en_US |
dc.identifier.uri | http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/23_3/9Titaphorn.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66512 | - |
dc.description | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปี | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมตลอดวัฏจักรชีวิตของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์โดยมี ขอบเขตการศึกษาที่อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งถือเป็นพื้นที่ที่มีแหล่งการเพาะปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ค่อนข้างมาก จากการวิจัยพบว่าการเกิดก๊าซเรือนกระจกมีปริมาณสูงสุดในขั้นตอนการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในพื้นที่เพาะปลูก คิดเป็น 75% รองลงมาคือขั้นตอนการเพาะปลูกขั้นตอนการเผาเศษวัสดุการเกษตรในที่โล่ง และขั้นตอนการเก็บเกี่ยว คิดเป็น 15%, 10% และ 0.07% ตามลำดับ สำหรับการเกิดฝุ่นละอองขนาดเล็ก มีปริมาณสูงสุดในขั้นตอนการเผาเศษวัสดุ การเกษตรในที่โล่ง คิดเป็น 86% รองลงมาคือขั้นตอนเพาะปลูก และขั้นตอนการเก็บเกี่ยว คิดเป็น 14% และ 0.22% ตามลำดับซึ่งทำ ให้ในภาพรวมของอำเภอแม่แจ่มมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เท่ากับ 2,976.538 ตัน คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า และทำให้เกิดฝุ่นละอองขนาดเล็กเท่ากับ 26.539 ตันฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM10 เทียบเท่าซึ่งผลกระทบดังกล่าวส่งผลกระทบต่อมลพิษทางอากาศและสุขภาพของประชนชนในพื้นที่เป็นอย่างมาก ดังนั้นผลการวิเคราะห์ที่ได้จะสามารถนำไปสู่แนวทางในการจัดการทางการเกษตรที่ดีและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้นเพื่อการผลิต และการบริโภคอย่างยั่งยืนต่อไปในอนาคต | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ | en_US |
dc.subject | การประเมินวัฏจักรชีวิต | en_US |
dc.subject | ก๊าซเรือนกระจก | en_US |
dc.subject | ฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM10 | en_US |
dc.subject | อำเภอแม่แจ่ม | en_US |
dc.subject | จังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์การปล่อยก๊าซเรือนกระจกและฝุ่นละอองขนาดเล็กจากกิจกรรมการเพาะปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในพื้นที่อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Life Cycle GHGs and PM10 Evaluation of Maize Cultivation in Mae Chaem District, Chiang Mai | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.