Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66504
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุทิน พลบูรณ์en_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:29Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:29Z-
dc.date.issued2559en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ 23, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2559), 56-63en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/23_3/6Suthin.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66504-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงอิทธิพลของเส้นผ่านศูนย์กลางท่อทางออกของอากาศที่มีต่อประสิทธิภาพ การคัดแยกของไซโคลนดักฝุ่นละอองด้วยการทดลอง การทดลองน้ีใช้แกลบเผาแทนฝุ่นละอองที่ปล่อยออกมาจากโรงงาน อุตสาหกรรม ประสิทธิภาพการคัดแยกของไซโคลนวัดอยู่ในรูปของขนาดอนุภาคและอัตราการไหลของอากาศทางเข้า ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางท่อทางออกของอากาศที่ใช้ในการทดลองประกอบด้วยขนาด 30, 50 และ 60 มิลลิเมตร ความเร็ว ของอากาศทางเข้ามีค่าเท่ากับ 6.61, 7.50 และ 7.93 เมตรต่อวินาที ขนาดอนุภาคของฝุ่นละอองที่ใช้ในการทดลองมี ทั้งหมด 4 ค่า ประกอบด้วย 0-150, 150-250, 250-500 และ 500-850 ไมโครเมตร จากการทดลองพบว่าเมื่อความเร็ว ของอากาศและขนาดอนุภาคเพิ่มขึ้นส่งผลให้ประสิทธิภาพการคัดแยกของไซโคลนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นสำหรับทุกค่าของ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางท่อทางออกของอากาศ เมื่อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางท่อทางออกของอากาศเท่ากับ 50 มิลลิเมตร ความเร็วทางเข้าของอากาศเท่ากับ 7.93 เมตรต่อวินาที ขนาดของอนุภาคเท่ากับ 0-150, 150-250, 250-500 และ 500-850 ไมโครเมตร ประสิทธิภาพการคัดแยกสูงสุดของไซโคลนมีค่าเท่ากับ 97.20%, 97.91%, 98.71% และ 99.13% ตามลำดับen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectVortex finder diameteren_US
dc.subjectdust particleen_US
dc.subjectcycloneen_US
dc.titleอิทธิพลของเส้นผ่านศูนย์กลางท่อทางออกของอากาศที่มีต่อประสิทธิภาพของไซโคลนดักฝุ่นละอองen_US
dc.title.alternativeThe Influence of Vortex Finder Diameter on Performance of Dust Cycloneen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.