Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66502
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | บุปผาชาติ ยศคันโท | en_US |
dc.contributor.author | คมกฤต เล็กสกุล | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-08-21T09:18:29Z | - |
dc.date.available | 2019-08-21T09:18:29Z | - |
dc.date.issued | 2559 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ 23, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2559), 8-19 | en_US |
dc.identifier.issn | 2672-9695 | en_US |
dc.identifier.uri | http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/23_3/2Bupphachart.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66502 | - |
dc.description | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปี | en_US |
dc.description.abstract | ในปัจจุบันปริมาณพลาสติกที่ใช้อยู่แปรผันตรงกับปริมาณประชากรโลก และการกำจัดขยะพลาสติกก็ยังคงเป็นปัญหาอยู่จนถึงทุกวันจึงได้มีการคิดค้นวิธีการสังเคราะห์พอลิเมอร์ชีวภาพเกิดขึ้นเพื่อช่วยแก้ปัญหาในการกำจัดพลาสติก เนื่องจากพลาสติกที่สังเคราะห์จากชีวภาพมีคุณสมบัติที่สามารถย่อยสลายได้ด้วยตัวเอง จึงได้ทำการศึกษากระบวนการสังเคราะห์กรดพอลิแลคติก (Polylactic Acid: PLA) ซึ่งเป็นพลาสติกชีวภาพชนิดหนึ่งที่สามารถนำมาทดแทนการใช้ พลาสติกงานวิจัยนี้จะทำการออกแบบและพัฒนาถังปฏิกรณ์สำหรับการสังเคราะห์พอลิเมอร์จากกรดพอลิแลคติกโดยใช้แอลแทคไทด์เป็นมอนอเมอร์ในการสังเคราะห์กรดพอลิแลคติก ซึ่ง PLA ส่วนที่ติดก้นถังปฏิกรณ์ที่ได้รับการพัฒนามี ค่าเฉลี่ยน้ำหนักโมเลกุลวิเคราะห์ด้วยเทคนิคเจลเพอร์มีเอชันโครมาโทกราฟีเท่ากับ 9.5×103 กรัมต่อโมล และส่วนที่ติดขอบถังปฏิกรณ์มีค่า และ 9.6×103 กรัมต่อโมลและทดสอบคุณสมบัติทางความร้อนด้วยเทคนิค DSC ซึ่ง PLA ที่ติดก้นถังปฏิกรณ์ที่ได้รับการพัฒนามีอุณหภูมิเปลี่ยนสถานะคล้ายแก้ว (Tg) ที่ 55.92 องศาเซลเซียสจุดหลอม (Tm) ที่ 170.3 องศา เซลเซียส และส่วนที่ติดขอบถังปฏิกรณ์ไม่ปรากฏค่าอุณหภูมิเปลี่ยนสถานะคล้ายแก้ว (Tg)แต่มีค่าจุดหลอม (Tm) ที่ 175.5 องศาเซลเซียส | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ถังปฏิกรณ์ | en_US |
dc.subject | พอลิเมอร์ | en_US |
dc.subject | กรดพอลิแลคติก | en_US |
dc.subject | เจลเพอร์มีเอชันโครมาโทกราฟี | en_US |
dc.subject | เทคนิค DSC | en_US |
dc.title | การออกแบบและพัฒนาถังปฏิกรณ์สำหรับการสังเคราะห์กรดพอลิแลคติก | en_US |
dc.title.alternative | Design and Development of Reactor for Polylactic Acid Synthesis | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.