Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66494
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกันยาพร ไชยวงศ์en_US
dc.contributor.authorณัฐพล วิชาญen_US
dc.contributor.authorอริยะ แสนทวีสุขen_US
dc.contributor.authorวิโรจน์ ไชยสมทิพย์en_US
dc.contributor.authorสมศักดิ์ ตั้งวิไลen_US
dc.contributor.authorอภินันต์ เสริมสิริตระกูลen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:29Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:29Z-
dc.date.issued2560en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ 24, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2560), 100-109en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/24_1/09.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66494-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractการวิเคราะห์สมรรถนะของเตาแก๊สซิไฟเออร์ควบคู่กับการผลิตถ่านชีวภาพในการศึกษานี้จะแสดงถึงผลด้าน ประสิทธิภาพเชิงความร้อนของเตาที่ทำการออกแบบ เพื่อการพัฒนาเตาชีวมวลต้นแบบซึ่งจะสามารถนำไปใช้ในการหุงต้ม ในระดับครัวเรือนควบคู่กับการผลิตเชื้อเพลิงในรูปแบบถ่านชีวภาพ ทั้งนี้เตาที่ทำการออกแบบจะอาศัยกระบวนการทางด้าน เคมีความร้อนสำหรับการเปลี่ยนรูปชีวมวลใน 2 กระบวนการหลักได้แก่กระบวนการแก๊สซิฟิเคชั่นสำหรับผลิตแก๊ส เชื้อเพลิง และให้ความร้อน และกระบวนการไพโรไลซิสสำหรับผลิตถ่านชีวภาพ โดยจะอาศัยความร้อนที่สูญเสียผ่าน ผนังท่อในบริเวณที่เกิดกระบวนการแก๊สซิฟิเคชั่นเป็นตัวป้อนให้กระบวนการผลิตถ่านชีวภาพในส่วนของการเกิด กระบวนการไพรโรไลซิส การศึกษาประสิทธิภาพเชิงความร้อนผ่านกระบวนการต้มเดือดกับการเปลี่ยนวัตถุดิบทดสอบ พบว่า การใช้งานเตากับซังข้าวโพดจะให้ค่าประสิทธิภาพเชิงความร้อนสูงกว่าการใช้แกลบ และถ่านไม้ ซึ่งจะให้ค่า ประสิทธิภาพเชิงความร้อนร้อยละ 24, 21 และ 13 ตามลำดับ หากมีการใชเ้ชื้อเพลิงในรูปแบบผสมระหว่างแกลบกบัถ่านไม้ และแกลบกับซังข้าวโพด จะทำให้มีค่าประสิทธิภาพเชิงความร้อนที่สูงข้ึนร้อยละ 27 และ 41 ตามลำดับ ค่าประสิทธิภาพเชิงความร้อนของเตาที่ทำการศึกษาให้ค่าค่อนข้างสูงเมื่อทำการเปรียบเทียบกับงานวิจัยก่อนหน้านี้ที่มีผลค่า ประสิทธิภาพเชิงความร้อนในช่วงร้อยละ 5 - 23 สำหรับถ่านชีวภาพที่ผ่านกระบวนการไพโรไลซิสในเตา มีคุณสมบัติ และ องค์ประกอบที่ใกล้เคียงกับถ่านชีวภาพที่ผลิตได้ในระดับห้องปฏิบัติการโดยให้ค่าความร้อนเฉลี่ยประมาณ 16.80 MJ/kg ซึ่งมีค่าต่ำกว่าถ่านชีวภาพที่ได้จากห้องปฏิบัติการร้อยละ 11.20en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectเตาแก๊สซิไฟเออร์en_US
dc.subjectไพโรไลซิสen_US
dc.subjectแก๊สซิฟิเคซั่นen_US
dc.subjectถ่านชีวภาพen_US
dc.subjectแก๊สชีวมวลen_US
dc.titleการวิเคราะห์สมรรถนะของเตาแก๊สซิไฟเออร์ควบคู่กับการผลิตถ่านชีวภาพระดับครัวเรือนen_US
dc.title.alternativePerformance Analysis of Gasifier Stove Coupled with Bio-Char Production for Householden_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.