Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66472
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกฤษฎา วงศ์วรรณ์en_US
dc.contributor.authorวิมลิน เหล่าศิริถาวรen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:29Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:29Z-
dc.date.issued2560en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ 24, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2560), 23-35en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/24_2/03.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66472-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractผลิตภาพในการผลิตถือเป็นหัวใจหลักของการดำเนินงานในอุตสาหกรรมการผลิต เนื่องจากมีความเกี่ยวข้อง โดยตรงศักยภาพในการแข่งขนัขององค์กรบริษัทกรณีศึกษาเป็นบริษัทผู้ผลิตประตู-หน้าต่างได้ประสบปัญหาผลิตภาพใน การผลิตประตู-หน้าต่างชนิดบานพั ที่ไม่ได้ตามเป้าหมายที่กำหนด อันเนื่องมาจากปัญหาในวิธีการทำงานที่ค่อนข้างยุ่งยาก การขาดอุปกรณ์ช่วยในการทำงานและไม่มีเอกสารหรือมาตรฐานในการปฏิบัติงาน งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงคเ์พื่อเพิ่มอัตรา ผลผลิตต่อเวลาของการผลิตประตู-หน้าต่างชนิดบานพับโดยใช้เทคนิคการศึกษาการเคลื่อนไหวและเวลาในการวิเคราะห์ปัญหาและปรับปรุงการทำงานด้วยเทคนิคตัดรวม จัดใหม่และทำให้ง่ายร่วมกับเทคนิคการออกแบบอุปกรณ์ช่วยในการทำงาน จากการวิเคราะห์กระบวนการหลักในการผลิตประตู-หน้าต่าง ได้แก่กระบวนการเซาะร่องแท่งอลูมิเนียม กระบวนการวัดทำเครื่องหมายเพื่อเจาะรูกระบวนการยึดด้วยเครื่องยึดคลิ้นชิ่งและกระบวนการเจาะรูเพื่อยึดสกรูนำไปสู่การปรับปรุงได้แก่การสร้างอุปกรณ์กำหนดตำแหน่ง การรวมขั้นตอนและการปรับเปลี่ยนวิธีการทำงาน นอกจากนี้ยังได้ ปรับปรุงการจัดวางตำแหน่งของชั้น วางขอบยางและซีลให้อยู่ในตำแหน่งที่ใกล้และสะดวกต่อการใช้งานและยังช่วยให้ลด ระยะทางในการเคลื่อนที่ให้น้อยลง หลังจากทำการปรับปรุงวิธีการทำงานแล้วได้จัดทำเอกสารวิธีการปฏิบัติงานที่เหมาะสม สำหรับใช้ในการผลิตประตู-หน้าต่างชนิดบานพับเพื่อให้พนักงานสามารถนำไปใช้ในการปฏิบัติงานให้ตรงกันทุกแผน และเกิดการทำงานที่เป็นมาตรฐานอย่างเป็นระบบ หลังจากการปรับปรุงการทำงานพบว่าสามารถลดเวลาการทำงานในสายการผลิตต่อรอบได้ 2,018.4 วินาที หรือ 23.1 เปอร์เซ็นต์และช่วยลดระยะทางในการเคลื่อนที่ได้ 24.7 เมตร หรือ 24.6 เปอร์เซ็นต์ส่งผลให้จำนวนผลผลิตต่อวัน เพิ่มขึ้นจากเดิมผลิตได้ 27.5 บานต่อวันเพิ่มขึ้นเป็น 49.1 บานต่อวันคิดเป็นอัตราที่เพิ่มขึ้นมากถึง 78.2 เปอร์เซ็นต์ซึ่ง นอกจากจะช่วยเพิ่มอัตราการผลิตต่อวันช่วยลดปัญหาการส่งสินค้าล่าช้าแล้วยังช่วยลดค่าใช้จ่ายในการผลิตต่อหน่วยได้อีกen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการปรับปรุงผลิตภาพในการผลิตประตู-หน้าต่างด้วยเทคนิคการศึกษาการเคลื่อนไหวและเวลาen_US
dc.title.alternativeProductivity Improvement in Door-Window Production Using Motion and Time Study Techniquesen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.