Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66466
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorธนากร รัตนพันธุ์en_US
dc.contributor.authorมณีรัตน์ องค์วรรณดีen_US
dc.contributor.authorศิริมา ปัญญาเมธีกุลen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:28Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:28Z-
dc.date.issued2560en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ 24, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2560), 69-80en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/24_3/08.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66466-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractต้นไม้ประดับสามารถช่วยลดมลพิษในอาคารได้แต่ยังไม่มีการวัดความสามารถของต้นไม้ในการกำจัดอนุภาค ขนาดเล็กในอาคารด้วยวิธีที่เป็นมาตรฐานดังนั้นงานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อประเมินความสามารถของต้นไม้ประดับใน อาคารในการดักจับอนุภาคขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน (PM2.5) ด้วยห้องทดสอบขนาดใหญ่ โดยศึกษาปัจจยัที่มีผลต่อ ความสามารถของต้นไม้คือ พื้นที่ผิวใบ และ ลักษณะใบต้นไม้ที่ใช้ในการทดสอบแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มต้นไม้ ประดิษฐ์ประกอบด้วย ต้นเฟิร์น และต้นสาวน้อยประแป้ง และกลุ่มต้นไม้จริง ประกอบด้วย ต้นพลูด่าง ต้นฤๅษีผสม และ ต้นเข็มสามสี ทำการวัดความสามารถในการดักจับ PM2.5 โดยใช้ห้องทดสอบขนาด 8 ลบ.ม. ที่มีพื้นผิวภายในห้องเป็นอะลูมิเนียม อนุภาคขนาดเล็กที่ใช้ในการทดลองได้จากการเผาไหม้ธูป โดยให้ความเข้มข้น เริ่มต้นของ PM2.5 อยู่ในช่วง 240-250 มคก./ลบ.ม. วัดความเข้มข้นอย่า งต่อเนื่องเป็นเวลา 24 ชั่วโมง จากกันนั้นข้อมูลมาพยากรณ์สัมประสิทธิ์การสูญหายของ PM2.5 จากการตกทับถมบนพื้นผิวใบ ด้วยการวิเคราะห์การถดถอยแบบไม่ เป็นเชิงเส้นตรงโดยใช้แบบจำลอง ทางคณิตศาสตร์ของสมการสมดุลมวลของ PM2.5 ในอากาศภายในห้องทดสอบ ผลการทดลองพบว่าพื้นที่ใบของต้นเฟิร์น ประดิษฐ์มีความสัมพันธ์เชิงเส้นตรงกับค่าสัมประสิทธิ์การสูญหายของ PM2.5 ที่เพิ่มขึ้น โดยมีสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เพียร์สันเท่ากับ 0.919 ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ0.05 เมื่อวัดสัมประสิทธิ์การสูญหายของ PM2.5 ของต้นไม้ทั้ง 5 ชนิด ที่มีพื้นที่ใบทั้งหมดเท่ากัน คือ 5 ตร.ม. ได้ค่าดังนี้ต้นเฟิร์นประดิษฐ์ 0.07 ต่อชั่วโมง ต้นสาวน้อยประแป้ง 0.06 ต่อ ชั่วโมง ต้นพลูด่าง 0.06 ต่อชั่วโมง ต้นฤๅษีผสม 0.04 ต่อชั่วโมง และต้นเข็มสามสี 0.05 ต่อชั่วโมง โดยต้นฤๅษีผสมซึ่งมีลักษณะใบหยักมีขนสามารถดักจับ PM2.5 ได้สูงสุดในช่วง 3 ชั่วโมงแรก แต่ความสามารถกลับลดลงเวลาผ่านไปเนื่องจาก ผลของการคายน้ำที่ผิวใบโดยตรงen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการประเมินความสามารถของต้นไม้ประดับในการดักจับอนุภาคขนาดเล็กในอาคารen_US
dc.title.alternativeAssessment of the Ability of Houseplants to Trap Indoor Particulate Matteren_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.