Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66458
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกษวรรต ทิพพหาen_US
dc.contributor.authorเรวัต คำวันen_US
dc.contributor.authorปฏิญญา กรุดนาคen_US
dc.contributor.authorชาลี ลอเวฟินen_US
dc.contributor.authorพลอยตะวัน มหาวันน้ำen_US
dc.contributor.authorธรณิศวร์ ดีทายาทen_US
dc.contributor.authorทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์en_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:28Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:28Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ 25, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2561), 214-225en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/25_1/18Thoranis.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66458-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการเพิ่มคุณภาพน้ำมันไบโอดีเซลจากน้ำมันปาลม์รีไฟน์โดยผ่านกระบวนการแตกตัวด้วยความร้อน และตัวเร่งปฏิกิริยา HZSM-5 ในเครื่องปฏิกรณ์แบบเบดนิ่งที่มีเซรามิกบอลบรรจุอยู่เพื่อช่วยรักษาอุณหภูมิในการทำปฏิกิริยา เมื่อทำการศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของน้ำมันชีวภาพที่ได้ด้วย Gas Chromatography-Mass Spectrometer (GC-MS) พบว่ามี%Selectivities ของกลุ่มกรดไขมันเมทิลเอสเทอร์73.29% กลุ่มคีโตน 13.75% และกลุ่มโอเลฟิน (แก๊สโซลีน เคโรซีน และดีเซล) 12.96% จากนั้นนา น้ำมัน ชีวภาพมากลั่น ลำดับส่วนไดเ้ป็นน้ำมันดีเซลชีวภาพมากที่สุด จากการทดสอบหาค่าความร้อนและค่าความหนืดของน้ำมันดีเซลชีวภาพพบว่า มีค่าความร้อนสูงเท่ากับ 43.35 MJ/kg และค่าความหนืดเท่ากับ 4.96 cSt ซึ่งมีค่าใกล้เคียงกับน้ำมันดีเซลมาก นอกจากนี้ยังมีการทดสอบสมรรถนะของน้ำมันดีเซลชีวภาพในเครื่องยนต์ดีเซลขนาดเล็กเปรียบเทียบกบั น้ำมันดีเซลในเครื่องยนต์แบบ Indirect injection และ Direct injection พบว่าประสิทฺธิภาพเชิงความร้อนของน้ำมันดีเซลชีวภาพมีค่าใกลเ้คียงน้ำมันดีเซลและปริมาณการปล่อยแก๊ส คาร์บอนมอนอกไซด์โดยเฉลี่ยมีค่าต่า กว่าถึง 39.17% ส่วนปริมาณการปล่อยออกไซด์ของไนโตรเจนมีค่าสูงกว่าเพียง 10.1% เท่านั้นen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการเพิ่มคุณภาพของน้ำมันไบโอดีเซลจากน้ำมันปาล์มรีไฟน์โดยผ่านการแตกตัวด้วยตัวเร่งปฏิกิริยา HZSM-5 และการทดสอบในเครื่องยนต์ดีเซลขนาดเล็กen_US
dc.title.alternativeQuality Upgrading of Biodiesel from Refined Palm Oil by Catalytic Cracking with HZSM-5 and Small Diesel Engine Testingen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.