Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66448
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สิริพงศ์ สังข์เจริญ | en_US |
dc.contributor.author | อรรถพล สมุทคุปติ์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-08-21T09:18:28Z | - |
dc.date.available | 2019-08-21T09:18:28Z | - |
dc.date.issued | 2561 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ 25, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2561), 178-188 | en_US |
dc.identifier.issn | 2672-9695 | en_US |
dc.identifier.uri | http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/25_1/15Siripong.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66448 | - |
dc.description | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปี | en_US |
dc.description.abstract | ในปัจจุบันกระบวนการเคลื่อนย้ายตำแหน่งระบบสายพานลำเลียงถ่านหินลิกไนต์เป็นสิ่งที่มีความสำคัญต่อการผลิตกระแสไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าแม่เมาะ ดังนั้นการปรับปรุงประสิทธิภาพของกระบวนการดังกล่าวจึงเป็นสิ่งจำเป็นที่จะทำให้ความสามารถในการลำเลียงถ่านหินลิกไนตใ์ห้กับโรงไฟฟ้าแม่เมาะเพียงพอต่อความต้องการแต่เนื่องจากการดำเนินการ ที่ผ่านมามีการใช้ระยะเวลาในการดำเนินการของกระบวนการดังกล่าวในแต่ละครั้งไม่เท่ากัน จึงมีความจำเป็นที่ต้อง ประยุกต์ใช้เทคนิคการจำลองสถานการณ์มอนติคาร์โลในการประมาณเวลาที่ใช้ในการดำเนินงานของกระบวนการดังกล่าว โดยเริ่มจากการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน รวมทั้งตรวจสอบลักษณะการกระจายตัวของข้อมูลเพื่อนำมาใช้ในการ สร้างแผนงาน และประมาณการระยะเวลาทั้งหมดของกระบวนการดังกล่าวผลการศึกษาที่ความเชื่อมั่น 95% ระยะเวลาเฉลี่ยในการดำเนินโครงการฯ อยู่ระหว่าง 172.51 ถึง 175.25 ชั่วโมง ซึ่งจากการพิจารณาพบว่าการดำเนินการด้วยวิธีการเดิมจะล่าช้าจึงมีการนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการดังกล่าว 2 วิธีคือ ปรับลดระยะเวลาในการดำเนินงานของกิจกรรมที่มีระยะเวลาในการดำเนินงานไม่คงที่และนำบางกิจกรรมออกไปดำเนินการนอกแผนงานเฉพาะใน ส่วนของงานย้ายและติดตั้งเครื่องโม่ถ่าน กับการซื้อเครื่องโม่ถ่านหินเพิ่ม ซึ่งแนวทางที่เหมาะสมที่สุดได้แก่การลดระยะเวลาในการดำเนินงานของกิจกรรมที่มีระยะเวลาในการดำเนินงานไม่คงที่และนำบางกิจกรรมออกไปดำเนินงานนอกแผนงาน เนื่องจากไม่ต้องใช้งบประมาณในการลงทุนซื้อเครื่องจกัรเพิ่ม ทั้งนี้ที่ความเชื่อมั่น 95% ระยะเวลาเฉลี่ยที่ต้องใช้ในการดำเนินโครงการฯ คือ 134 ชั่วโมงและมีโอกาสที่จะใช้ระยะเวลาในการดำเนินโครงการฯ อยู่ระหว่าง 132.32 ถึง 135.60 ชั่วโมง | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ระบบสายพานลำเลียงถ่านหินลิกไนต์ | en_US |
dc.subject | เทคนิคการจำลองสถานการณ์มอนติคาร์โล | en_US |
dc.subject | แม่เมาะ | en_US |
dc.title | ประสิทธิภาพต้านทานแผ่นดินไหวของโครงคอนกรีตเสริมเหล็ก ภายในที่ใช้เหล็กเส้นความเหนียวสูง | en_US |
dc.title.alternative | Seismic Performance of Reinforced Concrete Interior Frames Using Super Ductile Reinforcing Steel Bar | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.