Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66435
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorฐิตินันท์ สังข์ทองen_US
dc.contributor.authorจิรพัฒน์ เงาประเสริฐวงศ์en_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:28Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:28Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ 25, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2561), 233-242en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/25_3/20.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66435-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractหน่วยงานยูทิลิตี้ของโรงงานผลิตผงซักฟอกทำหน้าที่จ่ายระบบสาธารณูปโภคให้กับฝ่ายผลิตประกอบไปด้วย ไฟฟ้า น้้ำประปา ไอน้ำ ก๊าซธรรมชาติซึ่งพบว่าโรงงานกรณีศึกษามีสัดส่วนการใช้พลังงานไฟฟ้าในระบบอากาศอัดไม่สอดคล้องกับการผลิตเช่น ในวันที่ไม่มีการผลิต แต่มีการใช้พลังงานในระบบอัดอากาศ นั่นหมายความว่าหน่วยงาน ที่ดูแลไม่มีการบริหารจัดการการผลิตอากาศอัดให้เหมาะสมสอดคล้องกับแผนการผลิตทำให้สินเปลืองพลังงาน โดยพบว่าการใช้พลังงานในระบบอัดอากาศเฉลี่ยหนึ่งปี ย้อนหลังปี2016 เท่ากับ 124,862 กิโลวัตต์ชั่วโมงต่อเดือน มีค่าใช้จ่าย 434,519 บาทต่อเดือน คิดเป็นค่าสัดส่วนการใช้พลังงาน 17% ของพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ทั้งหมดในโรงงาน ดังนั้นจึงตองการลดพลังงานลงโดยการจ่ายอากาศอัดให้สอดคล้องกับแผนการผลิต งานวิจัยนี้ได้วิเคราะห์ข้อมูลการจ่ายอากาศอัดให้กับวาลว์ควบคุมระบบจัดเรียงสินค้าด้วยหุ่นยนต์และเครื่องจักรที่ใช้ในการบรรจุผลิตภัณฑ์โดยศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอัตราการไหลของอากาศอัดที่ใช้งานหน่วยลิตรต่อวินาทีที่ระดับแรงดัน 6.5 บาร์เกจ ปริมาณผลผลิตผงซักฟอกและจำนวนเครื่องจักรที่ใช้ในการบรรจุผงซักฟอก ทำให้พบว่าได้สมการในการทำนายอัตราการไหลของอากาศอัด ซึ่งมีความสัมพันธ์ทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% และ R2 = 74.79% จากนั้นนำค่าอัตราการไหลที่ได้จากสมการไปวางแผนปิดเครื่องอัดอากาศล่วงหน้าตามแผนการผลิต พบว่าสามารถประเมินผลการลดพลังงานไฟฟ้าในระบบอัดอากาศลงได้186,125 กิโลวตัต์ชั่วโมงต่อปีมีผลประหยัด 651,439 บาทต่อปีen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการลดพลังงานในระบบอัดอากาศตามแผนการผลิตen_US
dc.title.alternativeCompressed Air System Energy Reduction Based On Production Planen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.