Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66433
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปิยะพงษ์ วงค์เมธาen_US
dc.contributor.authorชยานนท์ หรรษภิญโญen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:28Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:28Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ 25, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2561), 209-221en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/25_3/18.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66433-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractเพื่อความมั่นใจในความปลอดภัยของโครงสร้างภายใต้การกระทำแรงกระแทก มาตรฐานการออกแบบโดยทั่วไปแนะนำการใช้ตัวแปรแรงกระแทกด้วยวิธีแรงสถิตเทียบเท่าในการออกแบบโครงสร้างโดยไม่ได้คำนึงถึงพฤติกรรมจากแรง กระแทกที่เกิดขึ้นจริงในโครงสร้าง ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงทำการศึกษาพฤติกรรมการรับแรงกระแทกที่เกิดขึ้นกับคานคอนกรีต เสริมเหล็กที่มีอัตราส่วนของระยะช่วงเฉือนต่อความลึกของหน้าตัดต่างกันด้วยการใช้วิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ในขั้นตอนการ ตรวจสอบความถูกต้องของแบบจำลองไฟไนตเ์อลิเมนตก์ระทำโดยการสอบเทียบผลวิเคราะห์กับผลทดสอบจากงานวิจัยในอดีต การศึกษาพฤติกรรมของคานคอนกรีตเสริมเหล็กจากการตกกระแทกด้วยค้อนเหล็กมวล 400 กิโลกรมที่ปล่อยจากความสูง 0.15, 0.30, 0.60 และ 1.20 เมตรประกอบด้วย 3 ตัวอย่างซึ่งมีค่าอัตราส่วนของระยะช่วงเฉือนต่อความลึกคือ 5.6, 4.7 และ 4.0 จากผลการวิเคราะห์พบว่าที่ระยะความสูงการปล่อยค้อนเหล็กที่เท่ากันน้ันขนาดของแรงเฉือนมีค่าเพิ่มขั้นตามความลึกของหน้าตัดที่เพิ่มขึ้นภายใต้ความสูงของการปล่อยค้อนที่ต่างกันพบว่าขนาดของแรงดัดที่เกิดขึ้นมีการ เปลี่ยนแปลงน้อยมากอย่างไรก็ตามขนาดของแรงเฉือนมีค่าเพิ่มมากขึ้นตามความสูงของการปล่อยค้อนที่เพิ่มขึ้นแต่การเพิ่มขึ้นของแรงเฉือนในคานนั้นถูกจำกัดเฉพาะบริเวณช่วงกึ่งกลางคานซึ่งเป็นจุดที่ตกกระแทกโดยค้อนเหล็กนอกจากนี้ยังพบว่าการลดลงของอัตราส่วนระยะช่วงเฉือนต่อความลึกของคานมีแนวโน้มที่จะนำไปสู่การวิบัติแบบเฉือนจากแรง กระแทก ดังนั้นการใช้ตัวแปรแรงกระแทกในการออกแบบโครงสร้างโดยไม่คำนึงถึงพฤติกรรมจริงภายใต้แรงกระแทกของโครงสร้างนั้นสามารถนำ ไปสู่การเปลี่ยนรูปแบบการวบัติจากแบบดัดเป็นแบบเฉือนได้en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์การรับแรงกระแทกของคานคอนกรีตเสริมเหล็กที่มีอัตราส่วนของระยะช่วงเฉือนต่อความลึกต่างกันen_US
dc.title.alternativeImpact Analysis of RC Beams with Different Shear Span-to-Depth Ratiosen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.