Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66428
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวาท ซุนen_US
dc.contributor.authorอรรถกร อาสนคำen_US
dc.contributor.authorธรณิศวร์ ดีทายาทen_US
dc.contributor.authorวรศิษฐ์ ตรูทัศนวินท์en_US
dc.contributor.authorทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์en_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:28Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:28Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ 25, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2561), 167-177en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/25_3/14.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66428-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractสารเปลี่ยนสถานะเชิงพาณิชย์ RT42 ถูกบรรจุด้านหลังโมดูลเซลล์แสงอาทิตย์เพื่อใช้ในการควบคุมอุณหภูมิของ โมดูลโดยสารเปลี่ยนสถานะมีอุณหภูมิจุดหลอมตัวประมาณ 42o C จะช่วยลดอุณหภูมิโมดูลเมื่อรับรังสีอาทิตย์ไม่ให้มีค่า สูงมากทำให้ผลิตกำลังไฟฟ้าได้มากกว่าโมดูลปกติโมดูลเซลล์แสงอาทิตย์ที่ศึกษาทดสอบจะเป็นชนิดโพลีคริสตัลไลน์ ขนาด 195.6 cm x 99.2 cm กำลังการผลิตไฟฟ้าสูงสุด 250 Wp เอียงทำมุม 10o จากแนวระดับหันหน้าทางทิศใต้และ สารเปลี่ยนสถานะมีความหนา 5 cm เมื่ออุณหภูมิในชั้นสารเปลี่ยนสถานะถึงจุดหลอมตัวสารเปลี่ยนสถานะจะอยู่ในสภาพ ของเหลวและรอยต่อระหว่างเฟสจะเลื่อนลงมาเรื่อย ๆ ซึ่งวิธีการดังกล่าวสามารถลดอุณหภูมิโมดูลเซลล์แสงอาทิตย์ในช่วง ที่มีความเข้มรังสีอาทิตย์สูง จากการทดสอบในวันที่ท้องฟ้าแจ่มใส อุณหภูมิโมดูลจากประมาณ 57o C จะลดลงเหลือประมาณ 49.8o C อุณหภูมิในชั้นสารเปลี่ยนสถานะจะถูกคำนวณโดยวิธีการคำนวณเอนธัลปี ในรูปไฟไนต์ดิฟเฟอเรนซ์ เชิงเลขแบบหนึ่งมิติเมื่อเทียบกับผลการทดสอบจริง ภายใต้สภาพอากาศจังหวัดเชียงใหม่ซึ่งพบว่าสามารถทำนายอุณหภูมิ สารเปลี่ยนสถานะที่บริเวณผิวโมดูลเซลล์แสงอาทิตย์ได้ค่อนข้างดีแต่จะต้องมีการปรับค่าสภาพการนำความร้อน ในบริเวณ ที่สารเปลี่ยนสถานะเริ่มอยู่ในรูปของเหลวเนื่องจากผลของการพาความร้อน จากการทดสอบในวันที่อากาศมีอุณหภูมิสูง และท้องฟ้าแจ่มใส พบว่าสารเปลี่ยนสถานะที่ใช้ทดสอบควรมีความหนาอย่างน้อย 5 cm ซึ่งสารจะไม่หลอมตัวหมดen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectโมดูลเซลล์แสงอาทิตย์en_US
dc.subjectสารเปลี่ยนสถานะen_US
dc.subjectการควบคุมอุณหภูมิen_US
dc.subjectวิธีเอนทัลปีen_US
dc.subjectการคำนวณเชิงตัวเลขen_US
dc.titleพฤติกรรมการถ่ายเทความร้อนของสารเปลี่ยนสถานะในการควบคุมอุณหภูมิโมดูลเซลล์แสงอาทิตย์en_US
dc.title.alternativeHeat Transfer Behavior of Phase Change Material for Controlling Solar Cell Module Temperatureen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.