Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66422
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ศรีพิไล ชุดไธสง | en_US |
dc.contributor.author | นภัสสวงศ์ โอสถศิลป์ | en_US |
dc.contributor.author | ณัฐชา ทวีแสงสกุลไทย | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-08-21T09:18:27Z | - |
dc.date.available | 2019-08-21T09:18:27Z | - |
dc.date.issued | 2561 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ 25, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2561), 28-44 | en_US |
dc.identifier.issn | 2672-9695 | en_US |
dc.identifier.uri | http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/25_3/03.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66422 | - |
dc.description | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปี | en_US |
dc.description.abstract | จุดประสงค์ของงานวิจัยนี้คือ สร้างกรอบการบริหารจัดการนวัตกรรมศูนย์กลางนวัตกรรม (Chula Engineering Innovation Hub)คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งก่อนตั้งขึ้นมาใหม่เพื่อสนับสนุนและบ่มเพราะ นวัตกรรมสำหรับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในคณะฯ ได้แก่ นิสิต อาจารย์บุคลากรและศิษย์เก่าโดยผู้วิจัยได้ศึกษาวรรณกรรมที่ เกี่ยวข้องกับปัจจัย กรอบ และมาตรฐานการจัดการนวัตกรรม ท้ังในภาคอุตสาหกรรมและสถาบันการศึกษา เพื่อหา คุณลักษณะทางคุณภาพ (Quality Attributes) ในการสร้างข้อคำถามความต้องการผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากนั้น ได้จำแนก ความต้องการตามโมเดลของคาโน (Kano’s Model) แล้วแปลงความต้องการมาสู่ความต้องการด้านการออกแบบหรือ คุณลักษณะทางเทคนิค (Technical Descriptors) โดยใช้การกระจายหน้าที่ เชิงคุณภาพ (Quality Function Deployment ; QFD) ซึ่งพบว่าคุณลักษณะทางเทคนิคที่มีความสำคัญ สูงสุด 3 อันดับแรกได้แก่ 1) มีช่องทางในการ ประสานงานกับ หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน 2) คณะฯ มีกลยุทธ์ในการสนับสนุนการสร้างนวัตกรรม และ 3) มีระบบ การสร้างความร่วมมือภายในคณะฯ ตามลำดับจากนั้นได้เข้าสู่การศึกษาแนวคิดให้สอดคล้องกับองค์กรสุดท้ายผลลัพธ์ที่ได้ ก็คือ กรอบการจัดการนวัตกรรม ได้แก่ 1)ขั้นตอนการสร้างแนวคิด กระบวนการ และทักษะในการคิดแบบนวัตกรรม 2) ขั้นตอนปฏิบัติการเพื่อนำไปสู่การสร้างนวัตกรรม และ 3) ขั้นตอนไปสู่เป้าหมาย นั้นก็คือการนำผลงานไปสู่เชิงพาณิชย์และสังคม | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | Kano’s Model | en_US |
dc.subject | Quality Function Deployment (QFD) | en_US |
dc.title | การจัดการนวัตกรรมในสถาบันอุดมศึกษา กรณีศึกษาศูนย์กลางนวัตกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.title.alternative | Innovation Management In Higher Education A Case Study Of Chula Engineering Innovation Hub | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.