Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66421
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | อรียา สุวรรณนิกรกุล | en_US |
dc.contributor.author | นภัสสวงศ์ โอสถศิลป์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-08-21T09:18:27Z | - |
dc.date.available | 2019-08-21T09:18:27Z | - |
dc.date.issued | 2561 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ 25, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2561), 88-101 | en_US |
dc.identifier.issn | 2672-9695 | en_US |
dc.identifier.uri | http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/25_3/07.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66421 | - |
dc.description | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปี | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยฉบับนี้ศึกษาผลกระทบของปัจจัยที่มีต่อรอบเวลา ความเข้มข้นของเกลือ และความเข้มข้นของสาร ซัลโฟลาน ในกระบวนการผลิตไซยานูริกฟลูออไรด์และหาค่าที่เหมาะสมของปัจจัยที่ทำให้รอบเวลาความเข้มข้นของเกลือ และความเข้มข้นของสารซัลโฟลานลดลง โดยใช้การทดลองแบบพื้นผิวตอบสนองชนิดบอกซ์-เบห์นเคน พบว่า ในขั้นตอน การตกตะกอนมีสภาวะที่เหมาะสมคืออัตราการไหลเท่ากับ 1,115 กิโลกรัมต่อชั่ว โมงความเร็วใบพัดของถังตกตะกอน เท่ากับ 0.5 รอบต่อนาทีและช่วงเวลารอการตะกอนเท่ากับ 0 ชั่วโมง สำหรับขั้น ตอนการกลั่น แห้งมีสภาวะที่เหมาะสมคือ ความดัน เท่ากับ 30 มิลลิบาร์อุณหภูมิเท่ากับ 180o C และความเร็วใบพัดของเครื่องกลั่น แห้งเท่ากับ 20 รอบต่อนาทีผลของ การปรับปรุงสรุปได้ว่า รอบเวลาเฉลี่ยของขั้น ตอนการตกตะกอนลดลงจาก 12 ชั่วโมง/รอบการผลิต เหลือ 9.406 ชั่วโมง/รอบการผลิต และรอบเวลาเฉลี่ยของขั้นตอนการกลั่น แห้งลดลงจาก 12 ชั่วโมง/รอบการผลิต เหลือ 9.6393 ชั่วโมง/รอบ การผลิต สำหรับค่าความเข้มข้นของเกลือและค่าความเข้มข้นของสารซัลโฟลานยังอยู่ในช่วงกำหนดของโรงงาน | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | สภาวะที่เหมาะสม | en_US |
dc.subject | วิธีพื้นผิวตอบสนอง | en_US |
dc.subject | บอกซ์-เบห์นเคน | en_US |
dc.subject | รอบเวลา | en_US |
dc.title | การลดรอบเวลาของกระบวนการนำสารซัลโฟลานกลับคืนในการผลิตไซยานูริกฟลูออไรด์ในอุตสาหกรรมการผลิตสีย้อมผ้าฝ้าย | en_US |
dc.title.alternative | Reduction of Cycle Time of Sulfolane Recovery Process in Cyanuric Fluoride Manufacturing in Textile Dye Industry | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.