Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66412
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนรายุทธ วงค์สมุทร์en_US
dc.contributor.authorรสสุคนธ์ จะวะนะen_US
dc.contributor.authorพฤกษ์ อักกะรังสีen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:27Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:27Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ 26, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2562), 181-192en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/26_1/15.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66412-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้กล่าวถึงผลของระยะเวลากักเก็บที่เหมาะสมต่อการผลิตก๊าซชีวภาพจากมูลไก่ เนื้อที่เจือปนด้วยแกลบรอง พื้นโดยการหมักแบบแห้ง ซึ่งใช้ถังหมักที่มีใบพัดกวนขนาด 1,000 ลิตรและได้ทำการควบคุมปริมาณของแข็งทั้งหมดเข้าระบบเท่ากับ 25 เปอร์เซ็นต์โดยศึกษาที่ระยะเวลากักเก็บ 30 และ 60 วัน จากผลการศึกษาพบวา่ อัตราการผลิตก๊าซชีวภาพ ของมูลไก่เนื้อที่เจือปนด้วยแกลบรองพื้นที่ระยะเวลากักเก็บ 30 และ 60 วัน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.239±0.016 และ 0.249±0.016 ลูกบาศก์เมตรมาตรฐานต่อกิโลกรัมของแข็งระเหยที่ป้อนเข้าระบบ โดยสัดส่วนก๊าซมีเทนมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 48.9±0.6 และ 52.0±0.9 เปอร์เซ็นต์ตามลำดับ ซึ่งระบบมีประสิทธิภาพในการกำจัดปริมาณของแข็งทั้งหมดเท่ากับ 45.17±2.76 และ 79.55±8.88 เปอร์เซ็นต์และมีประสิทธิภาพในการกำจัดของแข็งระเหยเท่ากับ 53.76±3.57 และ 84.32±8.37 เปอร์เซ็นต์สำหรับการทดลองที่ระยะเวลากักเก็บ 30 และ 60 วัน ตามลำดับ นอกจากนี้ที่ระยะเวลากักเก็บ 60 วัน มีปริมาณแอมโมเนียไนโตรเจน 2,409±208 มิลลิกรัมต่อลิตร ซึ่งสามารถควบคุมไม่ให้ส่งผลต่อการทำงานของ จุลินทรีย์ผลิตก๊าซมีเทนได้แต่ที่ระยะเวลากักเก็บ 30 วัน ตรวจพบปริมาณแอมโมเนียไนโตรเจนสูงถึง 4,017±221 มิลลิกรัมต่อลิตรอาจมีความเสี่ยงต่อเสถียรภาพของระบบได้en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectระยะเวลากักเก็บen_US
dc.subjectการหมักแบบแห้งen_US
dc.subjectมูลไก่เนื้อen_US
dc.subjectก๊าซชีวภาพen_US
dc.titleผลของระยะเวลากักเก็บต่อการผลิตก๊าซชีวภาพแบบหมักแห้งจากมูลไก่เนื้อที่เจือปนด้วยแกลบรองพื้นen_US
dc.title.alternativeEffect of Retention Time on Dry Basis Biogas Production from Broiler Manure with Rice Husk Beddingen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.