Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66406
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวสุภรา อุ่นจิตสกุลen_US
dc.contributor.authorวิมลิน เหล่าศิริถาวรen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:27Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:27Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ 26, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2562), 135-147en_US
dc.identifier.issn2672-9695en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/26_1/11.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66406-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาค่าพารามิเตอร์ที่เหมาะสมในกระบวนการย้ำหัวหมุดด้วยแรงสั่น ด้วยเทคนิคการออกแบบการทดลอง โดยทำการออกแบบการทดลองแบบแฟคทอเรียลเต็มจำนวน 2k เพื่อทา การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบ ต่อกระบวนการผลิต ได้แก่ความดันอากาศ(Air Pressure) ความดัน ที่ใช้ในการเชื่อมต่อ(Rivet Pressure) เวลา (Rivet Time) และความสูง (Height) โดยมีค่าผลตอบ คือค่าความสูงของหัวหมุดบริเวณที่มีการเชื่อมต่อ(Wobble High) และ ค่าความต้านทานทางไฟฟ้า (DCR) ในงานวิจัยนี้ได้ทำ การทดลอง 16 การทดลอง 2 ซ้ำ ผลการวิจยัพบว่า ปัจจยัที่ส่งผลต่อ ค่าความสูงของหัวหมุดบริเวณที่มีการเชื่อมต่อได้แก่ความดันอากาศ เวลา ความสูง ผลกระทบร่วมระหวา่งปัจจัยความดัน อากาศกับเวลาและเวลากับความสูงและปัจจัยที่ส่งผลต่อค่าความต้านทานทางไฟฟ้าได้แก่ความดัน ที่ใช้ในการเชื่อมต่อ เวลาและความสูง ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 โดยมีความพารามิเตอร์ที่เหมาะสมต่อกระบวนการผลิต ดังนี้ความดันอากาศ 2.5 บาร์ความดันที่ใช้ในการเชื่อมต่อที่ระดับ 6 เวลาที่ระดับ 6 ความสูง 10.482 เซนติเมตร และมีค่าความพึงพอใจรวม 0.68313 ทำการทดลองยืนยันผลโดยใช้ค่าพารามิเตอร์ที่ได้จากการวิเคราะห์ทำการทดลองซ้ำ 3 คร้ังและทำการวิเคราะห์ ความแปรปรวน (ANOVA) ของค่าผลตอบทั้งสองก่อนการปรับปรุงและหลังการปรับปรุงค่าพารามิเตอร์โดยผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนค่าเฉลี่ยของผลตอบมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ซึ่งแสดงว่าค่าผลตอบหลังการปรับปรุงค่าพารามิเตอร์มีความแตกต่างจากค่าพารามิเตอร์การผลิต ณ ปัจจุบัน และมีค่าอยู่ในช่วงข้อกำหนดของผลิตภัณฑ์en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการหาค่าพารามิเตอร์ที่เหมาะสมในกระบวนการย้ำหมุดด้วยแรงสั่นโดยวิธีการออกแบบการทดลองen_US
dc.title.alternativeWobble Riveting Process Parameter Optimization Using Design of Experiment Techniqueen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.